ข้อเสนอคณะก้าวหน้า ปลดล็อกท้องถิ่น จัดงบ 50% ทำประชามติเลิกผู้ว่าฯ
อ่าน

ข้อเสนอคณะก้าวหน้า ปลดล็อกท้องถิ่น จัดงบ 50% ทำประชามติเลิกผู้ว่าฯ

คณะก้าวหน้า เปิดตัวข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญ ชื่อว่า “ปลดล็อคท้องถิ่น” เปิดให้ประชาชนที่เห็นด้วยเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 ชื่อ เพื่อนำเสนอต่อรัฐสภา
บรรยง-วีระศักดิ์-ธำรงศักดิ์ ขึ้นเวทีก้าวหน้า หนุนกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น
อ่าน

บรรยง-วีระศักดิ์-ธำรงศักดิ์ ขึ้นเวทีก้าวหน้า หนุนกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น

1 เมษายน 2565 คณะก้าวหน้าจัดเวที “ผ่าทางตัน 130 ปี รัฐราชการรวมศูนย์” ส่วนหนึ่งของแคมเปญล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ “คนละชื่อ ปลดล็อคท้องถิ่น”
คณะรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญหอบ 70,500 รายชื่อยื่นสภา เสนอ #แก้รัฐธรรมนูญ ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ
อ่าน

คณะรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญหอบ 70,500 รายชื่อยื่นสภา เสนอ #แก้รัฐธรรมนูญ ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ

22 ก.พ. 2565 เวลา 13.30 น. ที่รัฐสภา เกียกกาย คณะรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 272  ยื่นรายชื่อประชาชนที่ร่วมเข้าชื่อเสนอ #แก้รัฐธรรมนูญ ปิดสวิตช์ ส.ว.เลือกนายกฯ จำนวน 70,500 ต่อสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
รายชื่อครบแล้ว แต่ยังลงชื่อเพิ่มได้! ร่วม #แก้รัฐธรรมนูญ ม. 272 ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ
อ่าน

รายชื่อครบแล้ว แต่ยังลงชื่อเพิ่มได้! ร่วม #แก้รัฐธรรมนูญ ม. 272 ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ

การล่ารายชื่อเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 ตัดอำนาจวุฒิสภา (ส.ว.) เลือกนายกรัฐมนตรี นำโดย “คณะรณรงค์แก้ไข รธน. มาตรา 272” ได้รายชื่อประชาชนเกิน 50,000 รายชื่อ เรียบร้อยแล้วแต่ประชาชนยังสามารถลงชื่อเพิ่มได้เพื่อร่วมส่งเสียงให้รัฐสภารับฟังได้
สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564
อ่าน

สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564

จากการติดตามความเคลื่อนไหวของสภาโดยไอลอว์ ความพยายามแก้ไขรัฐธรรมนูญตลอดปี 2564 ยิ่งแสดงให้เห็นว่ากลไกการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) วางไว้นั้น “ยากลำบาก” เพียงใด ในปีนี้ มีเพียงหนึ่งร่างที่สามารถผ่านด่านวุฒิสภาจนสามารถแก้ไขได้สำเร็จ ซึ่งก็คือการแก้ไขระบบเลือกตั้ง
ปี 2022 กับ 4 เรื่องการเมืองที่ต้องจับตา
อ่าน

ปี 2022 กับ 4 เรื่องการเมืองที่ต้องจับตา

ในปี 2022 หรือ ปี 2565 นี้ หากรัฐบาลยังทำหน้าที่แก้ปัญหาที่สืบเนื่องมาจากการระบาดของโรคโควิด19 ได้ไม่ดีพอ สถานการณ์ทางการเมืองย่อมมีแนวโน้มที่จะร้อนแรงมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ เราจึงอยากช่วยประชาชนจับจาวาระร้อนทางการเมืองอย่างน้อย 4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นในปีนี้ 
เปิดรายชื่อ ส.ว. ที่ลงมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อยกเลิกกลไกสืบทอดอำนาจ คสช.
อ่าน

เปิดรายชื่อ ส.ว. ที่ลงมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อยกเลิกกลไกสืบทอดอำนาจ คสช.

ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2560 มีเงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งว่า ร่างแก้รัฐธรรมนูญที่ผ่านความเห็นชอบจากสภา จะต้องได้รับเสียงเห็นชอบจากสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ทั้งในวาระที่หนึ่งชั้นรับหลักการ และในวาระที่สามชั้นเห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย ดังนั้น การลงมติของ ส.ว. จึงเป็นจุดชี้ชะตาของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ ซึ่งจากการดูผลการลงมติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระที่หนึ่งตลอดทั้งสามครั้ง พบว่า มี ส.ว. บางคน ที่เป็นองค์รักษ์พิทักษ์กลไกสืบทอดอำนาจของคสช. อย่างสุดลิ่มทิ่มประตู
เทียบผลลงมติของ ส.ว. สามภาค  ยิ่งนานยิ่งเสียงไม่แตก ปกป้องอำนาจตัวเอง
อ่าน

เทียบผลลงมติของ ส.ว. สามภาค ยิ่งนานยิ่งเสียงไม่แตก ปกป้องอำนาจตัวเอง

ตั้งแต่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2560 มีความพยายามแก้ไขทั้งหมดสามภาค คือ มีการเสนอและเปิดการประชุมของรัฐสภาเพื่อพิจารณาลงมติกันแล้วทั้งหมดสามครั้ง ชวนดูบทวิเคราะห์การลงมติของส.ว.ทั้งสามภาค ดังนี้ 
รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”
อ่าน

รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีกำหนดการประชุมรัฐสภา พิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ "รื้อระบอบประยุทธ์" หนึ่งในข้อเสนอ คือ การใช้ "สภาเดี่ยว" ยกเลิกส.ว. เป็นวันที่สมาชิกวุฒิสภาอภิปรายน่าสนใจหลายคน ยังมีทั้งที่คัดค้านชัดเจน และคัดค้านแบบ "อ้อมๆ"​
แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: เปิดสามเหตุผล “ยกเลิก ส.ว.-เดินหน้า สภาเดี่ยว”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: เปิดสามเหตุผล “ยกเลิก ส.ว.-เดินหน้า สภาเดี่ยว”

16-17 พฤศจิกายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดพิจารณาและลงมติร่างรัฐธรรมนูญฉบับ "รื้อระบอบประยุทธ์" ที่นำโดยกลุ่ม Resolution โดยร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีสาระสำคัญ คือ การยกเลิกวุฒิสภาแล้วกลับไปใช้ระบบ "สภาเดี่ยว" หรือ ให้เหลือแต่สภาผู้แทนราษฎรทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ