ศาลแพ่งยกฟ้อง คดีรุ้งฟ้องให้ประยุทธ์เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุม
อ่าน

ศาลแพ่งยกฟ้อง คดีรุ้งฟ้องให้ประยุทธ์เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุม

14 มีนาคม 2566 ศาลแพ่งนัดฟังคำพิพากษาคดีที่ รุ้ง ปนัสยา และนักกิจกรรมอีกสามคนได้แก่ เบนจา อะปัญ กุลจิรา ทองคง หรือเอ้ The Voice และ เสกสิทธิ แย้มสงวนศักดิ์ ร่วมกันเป็นโจทก์ที่หนึ่งถึงที่สี่ตามลำดับ ฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นจำเลยที่หนึ่ง และ พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับความมั่นคง เป็นจำเลยที่สอง โดยในวันนี้นักกิจกรรมที่เป็นโจทก์ไม่ได้เดินทางมาฟังคำสั่งศาล มีเพียงทนายความและผู้รับมอบอำนาจที่เดินทางมาฟังคำสั่งแทน 
อัษฎา : จากการตรวจสอบทุจริตสู่พลเมืองตื่นรู้
อ่าน

อัษฎา : จากการตรวจสอบทุจริตสู่พลเมืองตื่นรู้

อัษฎา งามศรีขำ หรือ “ป้าอัษ” อายุ 56 ปีเป็นหนึ่งใน 11 จำเลยคดีคาร์ม็อบหาดใหญ่เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2564 การชุมนุมวันดังกล่าวมีเป้าหมายหลักคือ การขับไล่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ป้าอัษบอกว่า วันนั้นเธอใส่แมสก์ อยู่บนรถ เว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัยและไม่สร้างผลกระทบต่อผู้ใช้รถใช้ถนนคนอื่นๆ แต่ก็ไม่วายถูกดำเนินคดีฐานฝ่าฝืนข้อกำหนดห้ามชุมนุมที่ออกเมื่อเพื่อควบคุมโรคโควิด และข้อหาอื่นๆ รวมห้าข้อ เธอเป็นใครมาจากไหน เหตุใดชาวหาดใหญ่ พื้นที่อันเป็นฐานที่มั่นของพรรครัฐบาลจึงออกมาร่วมคาร์ม็อบ ขับไล่รัฐบาล ชวนรู้จักชีวิตและประสบการณ์การต่อสู้ของป้าอัศที่หล่อหลอมให้เธอเป็นอีกหนึ่งคนที
ไหม ธนพร: พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไม่เคยคุมโรค คุมแค่เพียงความทุกข์ยากของแรงงาน
อ่าน

ไหม ธนพร: พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไม่เคยคุมโรค คุมแค่เพียงความทุกข์ยากของแรงงาน

ไหม-ธนพร วิจันทร์ นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิแรงงานเป็นหนึ่งในผู้ถูกดำเนินคดีฐานฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ก่อนหน้าเดือนตุลาคม 2564
ได้หมาย YOUNG EP.4 คุยกับสี่นักกิจกรรมแดนใต้ “กระบี่ไม่ทน-กลุ่มนิสิตเพื่อประชาธิปไตย-ภูเก็ตปลดแอก และเฟมินิสต์ปลดแอก ภาคใต้”
อ่าน

ได้หมาย YOUNG EP.4 คุยกับสี่นักกิจกรรมแดนใต้ “กระบี่ไม่ทน-กลุ่มนิสิตเพื่อประชาธิปไตย-ภูเก็ตปลดแอก และเฟมินิสต์ปลดแอก ภาคใต้”

เมื่อพูดถึง “ภาคใต้” หลายคนอาจนึกถึงลมเย็นๆ ริมหาด การไปดำน้ำดูปะการังสวยๆ หรือแกงไตปลาอร่อยๆ แต่เมื่อขยายอาณาบริเวณเข้าไปในประเด็นการเมือง “ภาคใต้” นับเป็นพื้นที่หนึ่งในประเทศที่ขึ้นชื่อว่าเป็น “เขตแดนของฝ่ายอนุรักษ์นิยม” ส่งผลให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นปราการด่านยากที่สร้างอุปสรรคให้เหล่านักกิจกรรมที่เคลื่อนไหวทางการเมืองในพื้นที่เรื่อยมา  
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: กรุงเทพฯสีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว จัดชุมนุมได้ ถ้าไม่ใช่แออัด หรือก่อความไม่สงบ
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: กรุงเทพฯสีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว จัดชุมนุมได้ ถ้าไม่ใช่แออัด หรือก่อความไม่สงบ

นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 มีการจัดชุมนุมสาธารณะอย่างน้อย 10 ครั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แทบทุกครั้งตำรวจและฝ่ายความมั่นคงยังพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อห้ามไม่ให้มีการชุมนุม โดยอ้างว่าก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการแพร่โรค และนำไปสู่ปฏิบัติการปิดกั้นขัดขวางการใช้เสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน อย่างไรก็ดี ตามคำสั่ง ศบค.
“ไม่แออัด-ไม่ปลุกปั่น-ไม่มีหลักฐาน”:  ทบทวนคำสั่ง ‘ไม่ฟ้อง-ยกฟ้อง’ ในคดี พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ตลอดปี 2564 – ต้นปี 2565
อ่าน

“ไม่แออัด-ไม่ปลุกปั่น-ไม่มีหลักฐาน”: ทบทวนคำสั่ง ‘ไม่ฟ้อง-ยกฟ้อง’ ในคดี พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ตลอดปี 2564 – ต้นปี 2565

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่รัฐบาลควบคุมสถานการณ์ที่อาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเพื่อความปลอดภัยของประเทศ ได้ถูกนำมาใช้เพื่อควบคุมการระบาดของไวรัสโควิด-19 ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 โดยมีทั้งข้อห้ามมิให้บุคคลออกนอกเคหสถานภายในระยะเวลาที่กำหนด ห้ามการเสนอข่าวสารที่บิดเบือนข้อมูลข่าวสาร ห้ามการใช้เส้นทางคมนาคม กระทั่งการห้ามมิให้มีการชุมนุมรวมตัวกัน  
รวม “ครั้งแรก” ของการชุมนุมเพื่อประชาธิปไตยปี 2564
อ่าน

รวม “ครั้งแรก” ของการชุมนุมเพื่อประชาธิปไตยปี 2564

    2564 นับเป็นปีที่สองของการเคลื่อนไหวชุมนุมที่นำโดยคนรุ่นใหม่ ต่อต้านระบอบการปกครองของ คสช.​ การต่อสู้มีความท้าทายมากขึ้นจากข้อจำกัดในเรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 อันทำให้การขยับขยายฐานผู้ชุมนุมบนท้องถนนพบอุปสรรคมากขึ้น และการยกระดับการปราบปรามของรัฐตั้งแต่เริ่มการชุมนุมไปจนหลังการชุมนุม แต่ผู้ชุมนุมก็ยังคงเดินหน้าหาวิธีการและรูปแบบเพื่อแสดงออกต่อไป โดยปรับตัวไปตามสถานการณ์ ตามข้อจำกัดและความรุนแรงทางการเมืองที่เสี่ยงต่อช
ดินแดง : สำนักข่าวราษฎรกับความท้าทายของสื่อพลเมือง
อ่าน

ดินแดง : สำนักข่าวราษฎรกับความท้าทายของสื่อพลเมือง

สำนักข่าวราษฎรเป็นหนึ่งในสำนักข่าวออนไลน์ที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการรายงานการชุมนุมทางการเมืองที่แยกดินแดง การรายงานข่าวส่วนใหญ่เป็นการไลฟ์สถานการณ์ยาวผ่านทางเฟซบุ๊กและยูทูบ อาจมีรายงานสรุปสถานการณ์บ้าง เบื้องหลังการรายงานการชุมนุมต่อเนื่องคือ โอปอ-ณัฐพงศ์ มาลี ผู้ก่อตั้งและผู้สื่อข่าวคนเดียวของสื่อพลเมืองสำนักนี้     การชุมนุมที่แยกดินแดง ไลฟ์รายงานข่าวของเขาจับภาพส
เมื่อพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่จะใช้คุมโรค กลายเป็นเครื่องมือดำเนินคดีปิดปากเยาวชน
อ่าน

เมื่อพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่จะใช้คุมโรค กลายเป็นเครื่องมือดำเนินคดีปิดปากเยาวชน

ปี 2563-2564 เป็นช่วงที่เยาวชนคนรุ่นใหม่ลุกขึ้นมาแสดงออกอย่างเข้มข้ม ทั้งการตั้งคำถามต่อระบบการศึกษา กฎระเบียบในโรงเรียน และประเด็นโครงสร้างทางการเมืองที่เป็นอนาคตของพวกเขา แม้พวกเขายังอายุไม่ถึง 18 ปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง แต่ก็มีสิทธิที่จะแสดงออกและมีส่วนร่วมทางการเมือง ซึ่งทุกคนต้องช่วยกันคุ้มครองสิทธินี้ และหากมีการกระทำบางอย่างที่ฝ่าฝืนกฎหมายบางข้อ ก็ต้องดำเนินคดีด้วยกระบวนการสำหรับเด็ก ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขเยียวยา ให้โอกาสเรียนรู้ ไม่ใช่มุ่งเอาผิดลงโทษ สิทธิของเด็กในการมีส่วนร่วมทางการเมือง ถูกรับรองไว้ใ