การเซ็นเซอร์ตัวเองจากความหวาดกลัวที่รัฐสร้าง มุมมองจากศิลปิน คนทำงานสร้างสรรค์ นักวิชาการ
อ่าน

การเซ็นเซอร์ตัวเองจากความหวาดกลัวที่รัฐสร้าง มุมมองจากศิลปิน คนทำงานสร้างสรรค์ นักวิชาการ

สรุปเนื้อหาจากกิจกรรมเสวนา “Self-censorship การสร้างความหวาดกลัวโดยรัฐ อุปสรรคของคนทำงานสร้างสรรค์ และเสรีภาพทางวิชาการ” ส่วนหนึ่งของนิทรรศการ “ซ่อน(ไม่)หา(ย)”
พวงทองโต้กอ.รมน.กล่าวหาไม่เป็นกลาง-ไม่เชี่ยวชาญ สับงานวิจัยไม่ใช่โฆษณาชวนเชื่อ
อ่าน

พวงทองโต้กอ.รมน.กล่าวหาไม่เป็นกลาง-ไม่เชี่ยวชาญ สับงานวิจัยไม่ใช่โฆษณาชวนเชื่อ

กอ.รมน.ระบุไม่ได้ห้ามการจำหน่ายหนังสือเรื่อง “ในนามของความมั่นคงภายใน การแทรกซึมสังคมของกองทัพไทย” ของรศ. พวงทอง ภวัครพันธุ์ ระบุมีหนังสือเล่มนี้มีระเบียบวิธีวิจัยที่ไม่ถูกต้องตามหลักการ ไม่มีความเป็นกลาง
เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”
อ่าน

เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”

5 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. ศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับโครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน จัดงานเสวนาวิชาการในหัวข้อ เสรีภาพทางวิชาการ ในสภาวะเสื่อมถอย
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน

เทียบเสรีภาพการแสดงออกในรัฐธรรมนูญถาวรสามฉบับตั้งแต่ปี 2540 พบว่า หลักการเหมือนกันแต่รายละเอียดเปลี่ยนไป รัฐธรรมนูญ​ 2560 ตัดความเป็นส่วนตัว สิทธิครอบครัว สุขภาพจิต จากข้อยกเว้นการใช้เสรีภาพการแสดงความคิดเห็น ตัดการคุ้มครองการสอน อบรม วิจัย จากเสรีภาพทางวิชาการ และรับรองเสรีภาพของสื่อกว้างๆ ว่า “บุคคลที่ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน”
ความเคลื่อนไหว : การปิดกั้น การจัดกิจกรรมสาธารณะ
อ่าน

ความเคลื่อนไหว : การปิดกั้น การจัดกิจกรรมสาธารณะ

การแสดงออกในพื้นที่สาธารณะหลายครั้งถูกจำกัดและจับตามองอย่างใกล้ชิดจากรัฐบาลทหาร จากการรวบรวบข้อมูลจนถึงวันที่ 12ต.ค.57 มีกิจกรรมการแสดงออก(ที่ไม่เกี่ยวกับการเมือง)อย่างน้อย 21 ครั้ง ที่ถูกปิดกั้นแทรกแซงจากเจ้าหน้าที่รัฐ จากจำนวนข้างต้น สามารถแบ่งกิจกรรมการแสดงออกเป็น 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 การแสดงออกในพื้นที่สาธารณะ และรูปแบบที่ 2 การจัดกิจกรรมความรู้ทางวิชาการ    
ท้ากสทช. ถ้าแพ้คดี เอาตำแหน่งเป็นเดิมพัน
อ่าน

ท้ากสทช. ถ้าแพ้คดี เอาตำแหน่งเป็นเดิมพัน

ผจก.วิทยุจุฬาฯ ชี้ กสทช.ฟ้องหมิ่นสื่อ เท่ากับทำลายระบบการกำกับดูแลตนเองของสื่อ ท้าเดิมพันตำแหน่งของกสทช. หากศาลตัดสินว่าสื่อไม่มีความผิด นักกฎหมายชี้เป็นสิทธิในการฟ้อง แต่ไม่ควรใช้
นักวิชาการ ถก “รัฐไม่ควรข่มขู่เสรีภาพทางวิชาการ”
อ่าน

นักวิชาการ ถก “รัฐไม่ควรข่มขู่เสรีภาพทางวิชาการ”

หลัง กทค. ยื่นฟ้อง ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และณัฏฐา โกมลวาทิน ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์ว่าเป็นการข่มขู่และละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนในประเด็นสาธารณะ นักวิชาการกลุ่มหนึ่งร่วมกันจัดงานเสวนาเพื่อทวงหาเสรีภาพในทางวิชาการต่อการกระทำของ กทค.
ลงชื่อจดหมายเปิดผนึก เรียกร้องเสรีภาพในธรรมศาสตร์
อ่าน

ลงชื่อจดหมายเปิดผนึก เรียกร้องเสรีภาพในธรรมศาสตร์

มธ.มีมติ ห้ามนิติราษฎร์ใช้มหาวิทยาัลัยจัดกิจกรรมเรื่อง ม.112 อีก นักศึกษา ศิษย์เก่า ประชาชน ร่วมลงชื่อออกแถลงการณ์ เรียกร้องให้ยกเลิกมติ ยืนยันหลักการ "ธรรามศาสตร์มีเสรีภาพทุกตารางนิ้ว"