เลือกตั้งพัทยา: การเลือกตั้งใหม่ในรอบ 10 ปี หลัง คสช. เข้ายึดครอง
อ่าน

เลือกตั้งพัทยา: การเลือกตั้งใหม่ในรอบ 10 ปี หลัง คสช. เข้ายึดครอง

ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 นอกจากกรุงเทพมหานครจะมีการเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกสภาของท้องถิ่นของตัวเองแล้ว เมืองพัทยาก็เป็นอีกหนึ่งพื้นที่ที่จะได้มีการเลือกตั้งนายกและสมาชิกสภาเมืองพัทยา หลังไม่มีการเลือกตั้งมาเป็นเวลานานกว่า 10 ปี โดยเมืองพัทยาถูกเรียกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษเช่นเดียวกับกรุงเทพ และเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีเงินงบประมาณมากเป็นอันดับที่สาม เมื่อเทียบกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ทั่วประเทศ ตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2566
จับตาเลือกตั้ง พัทยา-กทม. รวมข้อห้ามทำระหว่างการเลือกตั้ง โทษจำคุก 10 ปี ตัดสิทธิเลือกตั้ง 20 ปี
อ่าน

จับตาเลือกตั้ง พัทยา-กทม. รวมข้อห้ามทำระหว่างการเลือกตั้ง โทษจำคุก 10 ปี ตัดสิทธิเลือกตั้ง 20 ปี

เพื่อให้การเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพและเมืองพัทยาในวันที่ 22 พ.ค.65 เป็นไปอย่างใสสะอาด ยุติธรรม พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2562 และระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยวิธีการหาเสียงและลักษณะต้องห้ามในการหาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2563 ได้กำหนดลักษณะต้องห้ามในการหาเสียงเลือกตั้งไว้หลายประการ โดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทุกคน สามารถช่วยกันจับตาดูไม่ให้มีการทุจริตการเลือกตั้งเกิดขึ้น 
ตามหา “อาสาสมัคร” บันทึกผล #เลือกตั้งผู้ว่ากทม วันที่ 22 พฤษภาคม 2565
อ่าน

ตามหา “อาสาสมัคร” บันทึกผล #เลือกตั้งผู้ว่ากทม วันที่ 22 พฤษภาคม 2565

เว็บไซต์ Vote62.com กลับมาอีกครั้ง! ในวันเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯและเมืองพัทยา 22 พ.ค.65 ขอชวนทุกคนมามีส่วนร่วมกันมากกว่าแค่เข้าคูหากากบาท ด้วยการช่วยกันบันทึกผลคะแนนและรายงานผลคะแนนด้วยตัวเอง เพื่อร่วมจับตาการจัดการเลือกตั้งและความโปร่งใสในการนับคะแนนด้วย
ผลคะแนนเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. 10 ครั้ง 2518-2556
อ่าน

ผลคะแนนเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. 10 ครั้ง 2518-2556

ผลการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ทั้ง 10 ครั้งตั้งแต่ปี 2518-2556 บ่งบอกการเมืองในกรุงเทพฯ หลายประการ ส่วนใหญ่คนที่ชนะการเลือกตั้งจะได้เสียง "เฉียดครึ่ง" ยกเว้นพลตรีจำลอง ศรีเมืองคนเดียวที่เคยได้เสียงเด็ดขาด ผู้สมัครที่ได้คะแนนถึงล้านก็ยังไม่แน่เสมอไปว่าจะชนะเลือกตั้ง ขึ้นอยู่กับบรรยากาศโดยรวมด้วย
เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักเมืองพัทยา องค์กรท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งที่สอง
อ่าน

เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักเมืองพัทยา องค์กรท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งที่สอง

ชวนทำความรู้จักกับเมืองพัทยาก่อนหย่อนบัตรเลือกตั้ง เลือกผู้แทนเมืองในวันครบรอบ 8 ปีรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2565 นี้
ทำความรู้จักกับ ส.ก. สภานิติบัญญัติของ กทม. ที่ คสช. ครองมาเกือบ 8 ปี
อ่าน

ทำความรู้จักกับ ส.ก. สภานิติบัญญัติของ กทม. ที่ คสช. ครองมาเกือบ 8 ปี

22 พฤษภาคม 2565 ชาว กทม. จะได้เลือกสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) ซึ่งจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการบริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบพิเศษ
ทำไมเลือกตั้ง กทม.จึงเป็นที่สนใจ? “เปิดงบ กทม. ที่ท้องถิ่นทั้งประเทศรวมกันก็สู้ไม่ได้”
อ่าน

ทำไมเลือกตั้ง กทม.จึงเป็นที่สนใจ? “เปิดงบ กทม. ที่ท้องถิ่นทั้งประเทศรวมกันก็สู้ไม่ได้”

ก่อนที่จะไปเข้าคูหาเลือกผู้ว่าฯ กทม. ชวนย้อนดูรายได้ของกรุงเทพมหานคร และเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้แก่กรุงเทพมหานคร 
รัฐบาลต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ “จำกัดการรวมกลุ่ม” ก่อนเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.-นายกเมืองพัทยา
อ่าน

รัฐบาลต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ “จำกัดการรวมกลุ่ม” ก่อนเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.-นายกเมืองพัทยา

23 มีนาคม 2565 ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ ประกาศการขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักร (คราวที่ 17) โดยขยายออกไปอีก 2 เดือน
ผู้ว่า กทม. – ส.ก. จากการแต่งตั้งจาก คสช. ถ้าอยากลงต่ออีกสมัย ต้องลาออกจากตำแหน่งก่อน 27 มี.ค.
อ่าน

ผู้ว่า กทม. – ส.ก. จากการแต่งตั้งจาก คสช. ถ้าอยากลงต่ออีกสมัย ต้องลาออกจากตำแหน่งก่อน 27 มี.ค.

ผู้ที่ คสช.แต่งตั้งให้ดำรงผู้บริหารท้องถิ่นต้องการจะลงสมัครในตำแหน่งผู้ว่ากทมฯ “ต้องลาออกจากตำแหน่งภายในสามวันนับแต่วันที่ประกาศวันเลือกตั้ง”
มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่ถึง 1 ปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ
อ่าน

มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่ถึง 1 ปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ

แม้จะยังไม่มีประกาศวันเข้าคูหากาบัตรเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ แต่ผู้ที่มีแผนจะย้ายทะเบียนบ้านจากจังหวัดอื่นมายังทะเบียนบ้านกรุงเทพฯ อาจต้องเตรียมพร้อมให้ดี เพราะกฎหมายกำหนดไว้ว่า หากใครมีชื่อในทะเบียนบ้านในกรุงเทพฯ ไม่ถึงหนึ่งปีก่อนวันเลือกตั้ง จะถือว่าไม่มีมีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (สก.)