ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.
อ่าน

ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.

27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองกลางออกนั่งพิจารณาคดีเป็นครั้งแรกในคดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และสำนักงาน กสทช. ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 โดยตุลาการศาลปกครองจะแถลงข้อเท็จจริงในคดี ก่อนที่ในเวลา 14.00 น. ตุลาการฯจะอ่านคำพิพากษาของคดีนี้
พีมูฟ:  บทเรียนชุมนุมที่ใช่ว่า ทำตามกฎหมายแล้วจะได้ใช้สิทธิ
อ่าน

พีมูฟ: บทเรียนชุมนุมที่ใช่ว่า ทำตามกฎหมายแล้วจะได้ใช้สิทธิ

      หลังรัฐบาลประกาศใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ 2558 (พ.ร.บ.ชุมนุมฯ) ส่งผลให้ประชาชนที่ต้องการ ใช้สิทธิชุมนุมต้องแจ้งการชุมนุมต่อเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง โดยมีบางครั้งเจ้าหน้าที่สั่งให้แก้ไขการชุมนุม อ้างเหตุไม่ถูกต้องตามกฎหมายกำหนด เช่น พื้นที่ชุมนุมเป็นสถานที่ราชการหรือทางสาธารณะ  และหลายครั้งหลังจากพวกเขายื่นหนังสือแจ้งการชุมนุมตามกฎหมาย เจ้าหน้าที่กลับไม่ได้สั่งให้แก้ไขการชุมนุม
จะสี่ปีแล้วนะ (ไอ้สัตว์!) :  สุ้มเสียงแห่งความอึดอัดและการทวงสัญญา
อ่าน

จะสี่ปีแล้วนะ (ไอ้สัตว์!) : สุ้มเสียงแห่งความอึดอัดและการทวงสัญญา

ถ้ารัฐบาลคสช.เข้าสู่อำนาจผ่านการเลือกตั้งในปี 2557 พวกเขาก็จะครบวาระสี่ปีของการทำงานในเดือนพฤษภาคม 2561 และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป แล้วถ้าหากประชาชนพึงพอใจการทำงานคสช.ก็จะมีโอกาสได้รับการเลือกตั้งให้ทำงานต่อ แต่หากเป็นไปในทางตรงกันข้ามประชาชนก็จะเลือกพรรคการเมืองใหม่ที่นำเสนอนโยบายเป็นที่พอใจของประชาชนเข้ามาทำหน้าที่แทน แต่เนื่องจากรัฐบาลคสช.ไม่ได้เข้าสู่อำนาจตามกฏิกาปกติหากแต่ผ่านการระบุว่าพวกเขาเป็น “รัฎฐาธิปัตย์” กรอบระยะเวลาการทำงานจึงไม่ใช่ระยะเวลาสี่ปีตามปกติหากแต่เป็นเป็นกรอบเวลาตามที่คสช.ในฐานะผู้มีอำนาจเต็มเห็นควร 
“อั้งยี่” กฎหมายโบราณที่กลับมาหลังการรัฐประหารของ คสช.
อ่าน

“อั้งยี่” กฎหมายโบราณที่กลับมาหลังการรัฐประหารของ คสช.

ความผิดฐานอั้งยี่ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 209 เป็นฐานความผิดที่มีมาแต่โบราณ ตั้งแต่สมัยที่จีนโพ้นทะเลอพยพเข้ามาตั้งรกรากหากินในไทย จนบรรจุลงไปในประมวลกฎหมายอาญาไทย เจตนารมณ์ของความผิดฐานนี้เพื่อใช้ควบคุมการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อจะทำสิ่งที่ฝ่าฝืนกฎหมาย หรือเรียกว่าปราบปรามกลุ่มแก๊งผู้มีอิทธิพลนั่นเอง  จนกระทั่งในยุค คสช.
สี่ปี ศาลทหาร คดีพลเรือนยังคงค้างอย่างน้อย 281 คดี
อ่าน

สี่ปี ศาลทหาร คดีพลเรือนยังคงค้างอย่างน้อย 281 คดี

กรมพระธรรมนูญ (ศาลทหาร) เปิดเผยข้อมูลสถิติคดีพลเรือนในศาลทหารทั่วประเทศรวมทั้งศาลทหารกรุงเทพ ครอบคลุมระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2557 จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2561 เป็นระยะเวลาประมาณ 4 ปี 1 เดือน โดยระบุว่า ในศาลทหารกรุงเทพ มีจำเลยที่เป็นพลเรือนถูกพิจารณาคดี 367 คน จาก 238 คดี ในจำนวนนี้เป็นคดีที่ศาลมีคำพิพากษาและคดีที่ถึงที่สุด 150 คดี อยู่ระหว่างการพิจารณา 88 คดี หากจำแนกตามประเภทความผิด มีคดีความผิดตามประมวลกฎหมายหมวดพระมหากษัตริย์(รวมทั้งมาตรา 112) 67 คดี ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหมวดความมั่นคง (รวมทั้งข้อหายุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116) 6 คด
ข้อมูลและขั้นตอนการปิดกั้นเนื้อหาในสื่อโทรทัศน์ ภายใต้ยุคคสช.
อ่าน

ข้อมูลและขั้นตอนการปิดกั้นเนื้อหาในสื่อโทรทัศน์ ภายใต้ยุคคสช.

วิธีการ และวิธีคิดในการกำกับดูแลสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทยกำลังเปลี่ยนไปภายใต้ยุครัฐบาล คสช. เริ่มตั้งแต่การออกประกาศอย่างน้อย 10 ฉบับ การตั้งคณะกรรมการพิเศษติดตามตรวจสอบเนื้อหา และการส่งเรื่องผ่าน “กสทช.” ให้ “องค์กรอิสระ” แห่งนี้ใช้อำนาจแทน อย่างน้อย 18 กรณี จาก 12 สถานี ถูกเรียกให้เข้าสู่กระบวนการกำกับเนื้อหาโดยรัฐ กรณีที่มีชื่อเสียง เช่น การสั่งปิดพีซทีวี การตรวจสอบไทยพีบีเอสเนื่องจากเสนอสกู๊ป “กลุ่มดาวดิน” และกรณีทหารบุกปิดสถานีฟ้าให้ เป็นต้น  การกำกับดูแลเนื้อหาโทรทัศน์ในยุค กสทช. ก่อนการรัฐประหาร (พ.ศ.
“ยุยงปลุกปั่น” ตามมาตรา 116 ข้อหาเพื่อประโยชน์ทางการเมืองในยุครัฐบาลคสช.
อ่าน

“ยุยงปลุกปั่น” ตามมาตรา 116 ข้อหาเพื่อประโยชน์ทางการเมืองในยุครัฐบาลคสช.

ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 หรือข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” เป็นกฎหมายที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันมากนัก เพราะมีเหตุให้ใช้ไม่บ่อย แต่หลังการรัฐประหารในปี 2557 ข้อหานี้ถูกใช้มากขึ้นเรื่อยๆ ต่อกลุ่มคนที่แสดงความคิดเห็นทางการเมืองในทิศทางตรงข้ามกับรัฐบาลทหาร จนเข้าลักษณะเป็นการตั้งข้อหาเพื่อหวังผลทางการเมือง และตอกย้ำว่ากฎหมายมาตรานี้เป็นข้อหาที่อยู่คู่กับการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองมาทุกยุคทุกสมัย