ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
RECAP2022: รวมไฮไลท์ความเคลื่อนไหวกฎหมายในสภาตลอดปี
อ่าน

RECAP2022: รวมไฮไลท์ความเคลื่อนไหวกฎหมายในสภาตลอดปี

ในปี 2565 ทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีการพิจารณากฎหมายสำคัญหลายฉบับ โดยมีอย่างน้อยห้าฉบับ ที่เราอยากนำมาเล่าเพื่อให้เห็นความเคลื่อนไหวของกฎหมายในสภาตลอดปีนี้
4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน
อ่าน

4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน

ป้าน้อย ภรรยาของสุรชัย แซ่ด่าน นักเคลื่อนไหวที่ลี้ภัยทางการเมืองไปยังประเทศเพื่อนบ้านในปี 57 หลังจากนั้นมีข่าวการหายตัวไปของทั้งสุรชัย ภูชนะ และกาสะลอง ก่อนจะพบศพสหายทั้งสองคนถูกมัดใส่กระสอบลอยมาที่ริมน้ำโขง ส่วนร่างของสุรชัยนั้นผ่านมากว่า 4 ปี แล้ว ก็ยังหาร่างไม่พบ
ส.ว. ขอแก้ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ กลับไปคล้ายร่างครม. ทั้งที่ ส.ส. มีมติแก้แล้ว
อ่าน

ส.ว. ขอแก้ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ กลับไปคล้ายร่างครม. ทั้งที่ ส.ส. มีมติแก้แล้ว

กมธ. ของ ส.ว. ได้ปรับแก้หรือตัดข้อเสนอใน ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ จำนวนหนึ่งที่เสนอในชั้น กมธ. ส.ส. และได้รับมติเห็นชอบจาก ส.ส. แล้ว เช่น ตัดโความผิดฐานกระทำย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ฯ การปรับโครงสร้างและที่มาของคณะกรรมการ จนทำให้ร่างของ กมธ. ส.ว. นั้นแทบจะปรับแก้ให้เนื้อหาสำคัญกลับไปเป็นเหมือนร่างของ ครม.
สรุปเสวนา “Thailand: ดินแดนแห่งความหลากหลายด้านปฏิบัติการสอดส่องโดยรัฐ”
อ่าน

สรุปเสวนา “Thailand: ดินแดนแห่งความหลากหลายด้านปฏิบัติการสอดส่องโดยรัฐ”

มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF) ร่วมกับสมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย (FCCT) จัดงานเสวนาเนื่องในวาระครบรอบสองปี 4 มิถุนายน 2563 การถูกบังคับสูญหายของวันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อแลกเปลี่ยนรูปแบบและแนวปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐในการติดตามคุกคามนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ไปจนถึงวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อร่วมกันหาแนวทางป้องกันและข้อเสนอแนะต่อไปในอนาคต
ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ
อ่าน

ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ

ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ยังมีร่างกฎหมายอีกจำนวนที่ยังรอให้ผู้แทนราษฎรพิจารณา และยังมีร่างกฎหมายถึง 10 ฉบับที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ใช้เทคนิคถ่วงเวลา ขอนำร่างกฎหมายไปศึกษาก่อน 60 วัน เช่น #สมรสเท่าเทียม #สุราก้าวหน้า ซึ่งร่างกฎหมายทั้ง 10 ฉบับนั้นยังต้องรอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะ “รับหลักการ” หรือไม่ 
ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย
อ่าน

ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย

ภาคประชาสังคมที่ทำงานขับเคลื่อนประเด็นป้องกันการทรมานและอุ้มหายจัดวงเสวนาเรื่อง “ตามหาวันเฉลิม: ตามหาหลักประกันความปลอดภัยของประชาชนจากการถูกบังคับสูญหาย (และทรมาน)” สะท้อนความรู้สึกของผู้ใกล้ชิด บทเรียนความพยายามในการสร้างกลไกในการป้องกันการทรมานและการบังคับสูญหาย
จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี