สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก
อ่าน

สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก

ปี 2557 กฎหมายหมิ่นประมาทและพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ยังเป็นอาวุธที่ทั้งภาครัฐและเอกชนใช้เพื่อปิดกั้นหรือตอบโต้กับเรื่องราวที่ไม่อยากได้ยิน ในปีนี้มีกรณีที่การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน หรือให้ความเห็นทางวิชาการ วิพากษ์วิจารณ์ประเด็นที่เป็นประโยชน์สาธารณะเป็นเหตุให้ถูกฟ้องคดีหมิ่นประมาทหลายกรณี 
“ภูเก็ตหวาน” คดีบรรทัดฐานของเสรีภาพสื่อกับมาตรา 14(1)
อ่าน

“ภูเก็ตหวาน” คดีบรรทัดฐานของเสรีภาพสื่อกับมาตรา 14(1)

สำนักข่าวท้องถิ่น Phuketwan ถูกกองทัพเรือฟ้อง แสดงให้เห็นว่า “พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ” กำลังก้าวเข้ามาเล่นบทบาท “ปิดปากสื่อ” อย่างจริงจัง
มองบรรทัดฐานจากศาล ในคำพิพากษาคดีสมยศ
อ่าน

มองบรรทัดฐานจากศาล ในคำพิพากษาคดีสมยศ

สมยศ พฤกษาเกษมสุข ถูกตัดสินจำคุก 10 ปี ตามมาตรา112  เพราะเป็นบรรณาธิการนิตยสารที่ตีพิมพ์บทความสองบท คำพิพากษาของศาลบอกเราว่า ข้อความใด“หมิ่นฯ”หรือไม่นั้นโจทก์และจำเลยต้องนำสืบ และศาลยืนยันว่าบรรณาธิการสิ่งพิมพ์ต้องรับผิดในเนื้อหา
แดงรุดหน้า ล่าหมื่นชื่อยกเลิกม.112
อ่าน

แดงรุดหน้า ล่าหมื่นชื่อยกเลิกม.112

เครือข่ายประชาธิปไตย หรือ คปต.ล่ารายชื่อประชาชนให้ครบ 10,000 ชื่อเพื่อเสนอกฎหมายให้รัฐสภาพิจารณา สำหรับข้อเสนอยกเลิกมาตรา112
คณะนิติราษฎร์เสนอ ยกเลิกมาตรา 112 แก้ไขเพิ่มเติมม.หมิ่นฯ
อ่าน

คณะนิติราษฎร์เสนอ ยกเลิกมาตรา 112 แก้ไขเพิ่มเติมม.หมิ่นฯ

คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์
จอน อึ๊งภากรณ์ : คนที่ปกป้องสถาบันมากที่สุดคือคนทำลายสถาบันมากที่สุด
อ่าน

จอน อึ๊งภากรณ์ : คนที่ปกป้องสถาบันมากที่สุดคือคนทำลายสถาบันมากที่สุด

จอน อึ๊งภากรณ์ เห็นว่า พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตราที่เป็นปัญหาทั้งหลายที่จำกัดสิทธิเสรีภาพต้องยกเลิกให้ได้ สถาบันกษัตริย์ที่เป็นปกตินั้นสังคมจะให้ความเคารพโดยธรรมชาติ
สรุปสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ พ.ศ.2550 – 2553 [TH-EN]
อ่าน

สรุปสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ พ.ศ.2550 – 2553 [TH-EN]

นับแต่ประกาศใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถึงเดือนกรกฎาคม 2553 พบว่า มีการดำเนินคดีตามกฎหมายนี้แล้ว 185 คดี และ มีคำสั่งศาลให้ปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ 117 ฉบับ เพื่อปิดกั้นการเข้าถึง 74,686 ยูอาร์แอล