สถิติผู้ต้องขังทางการเมืองในช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล
อ่าน

สถิติผู้ต้องขังทางการเมืองในช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล

ประเด็นเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาปากท้องของประชาชนและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ถูกจัดเป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่นำโดยเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย เป็นผลให้ประเด็นเหล่านี้ตกอยู่ในความสนใจของสังคมอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งสำคัญไม่น้อยไปกว่าประเด็นปัญหาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเรื่อง “สิทธิประกันตัว” ของผู้ที่ถูกคุมขังจากการแสดงออกทางการเมืองซึ่งยังคงอยู่ในเรือนจำกลับค่อยๆ ได้รับการพูดถึงน้อยลง สวนทางกับสถานการณ์ที่น่าห่วงกั
คดี กรรม และนักร้องมือฉมัง: รวมสถิติสุดช็อก 2 ปีของการใช้ “มาตรา 112”
อ่าน

คดี กรรม และนักร้องมือฉมัง: รวมสถิติสุดช็อก 2 ปีของการใช้ “มาตรา 112”

พุทธศักราช 2363-2565 คือช่วงเวลาที่มีผู้ถูกตั้งข้อหา “มาตรา 112” มากที่สุดในประวัติศาสตร์ จากการเก็บข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน นับตั้งแต่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศจะใช้กฎหมาย “ทุกมาตรา” เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2563 นับเป็นเวลาประมาณ 2 ปี จนถึง 14 พฤศจิกายน 2565 มีผู้ถูกดำเนินคดีมาตรา 112 อย่างน้อย 217 คน ใน 236 คดี
112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “บุญลือ”  คดีคอมเมนต์เฟซบุ๊กเรื่องปฏิรูปกษัตริย์ ก่อนพิพากษา
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “บุญลือ” คดีคอมเมนต์เฟซบุ๊กเรื่องปฏิรูปกษัตริย์ ก่อนพิพากษา

เนื่องจาก #มาตรา112 อยู่ในหมวดความผิดเกี่ยวกับ “ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร” กฎหมายจึงอนุญาตให้ “ใครก็ได้” ที่พบเห็นการกระทำและสงสัยว่าเป็นการกระทำความผิด ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้เสียหายเอาพฤติการณ์ไปแจ้งเพื่อให้ตำรวจดำเนินคดีได้เลย ดังนั้น คดีจำนวนไม่น้อยจึงริเริ่มขึ้นใน “สถานีตำรวจที่ผู้กล่าวหาสะดวก” ส่งผลให้ผู้ถูกกล่าวหาต้องแบกรับภาระในการเดินทางไปเข้ารวมกระบวนการพิจารณาคดี ณ จังหวัดที่ได้มีการไปกล่าวโทษไว้ คดีของ “บุญลือ” เป็นหนึ่งในนั้น “บุญลือ” เป็นชื่อสมมติ
10 ข้อ สนับสนุน #ยกเลิก112 ทุกคนช่วยกันทำได้ทุกวัน
อ่าน

10 ข้อ สนับสนุน #ยกเลิก112 ทุกคนช่วยกันทำได้ทุกวัน

ท่ามกลางบรรยากาศความน่ากลัวของการบังคับกฎหมายที่มีขอบเขตไม่ชัดเจน จำนวนคดีที่เพิ่มขึ้นแทบจะทุกวันและดูเหมือนไม่มีที่สิ้นสุด ตลอดจนคำพิพากษาให้จำคุกที่ทยอยออกมาเรื่อยๆ ก่อนที่สังคมจะดำดิ่งไปสู่ความจำนนต่อสถานการณ์ ไอลอว์ชวนดูทางเลือก 10 ข้อ อยากสนับสนุน #ยกเลิก112 ทำอะไรได้บ้าง?
นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5
อ่าน

นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

จนถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 29 คน  นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ในช่วงเวลานี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่ (1) ช่วงเดือนตุลาคม 2563 (2) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 (3) ช่วงเดือนสิงหาคม 2564  (4) หลังการทยอยปล่อยตัวแกนนำราษฎรเมื่อเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2565 ไม่นานนัก “คำสั่งคุมขัง” ก็กลับมาอ
แนวโน้มคำพิพากษาคดีมาตรา 112 ในปี 2565
อ่าน

แนวโน้มคำพิพากษาคดีมาตรา 112 ในปี 2565

*ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2565 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกฎหมายอาญาที่มีบทลงโทษหนักคือจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี มักจะถูกนำมาบังคับใช้ในทางจำกัดเสรีภาพการแสดงออกและใช้ในการจัดการขั้วตรงข้ามทางการเมือง ระหว่างการรัฐประหาร 2557 เป็นอีกช่วงเวลาที่มาตรา 112 ถูกนำมาใช้ปราบปรามประชาชน การบังคับใช้ในช่วงเวลาดังกล่าวเห็นถึงปัญหาของตัวบทกฎหมายที่เปิดโอกาสให้ตีความกว้างขวาง การลงโทษหนักหน่วงและจำเลยบางคนไม่สามารถอุทธรณ์หรือฎีกาได้เนื่องจากคดีอยู่ในอำนาจการพิจารณาของศาลทหารและเหตุแห่งคดีเกิดระหว่างมีการประกาศกฎอัยการศึก แต
แซม ทะลุฟ้า จำเลยคดีเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติไม่ได้รับการประกันตัวเป็นครั้งที่ 4
อ่าน

แซม ทะลุฟ้า จำเลยคดีเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติไม่ได้รับการประกันตัวเป็นครั้งที่ 4

11 สิงหาคม 2565 ศาลอาญานัดไต่สวนคำร้องคัดค้านฝากขัง พรชัย ยวนยี หรือ “แซม ทะลุฟ้า” พรชัยถูกตั้งข้อกล่าวหาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยถูกกล่าวหาว่าร่วมกับผู้อื่นเผาซุ้มเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่สิบเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2564 ระหว่างการชุมนุมคาร์ม็อบในโอกาสครบรอบ 15 ปี การรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 พรชัยถูกจับกุมตัวเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2565 ระหว่างที่เขาไปติดต่อราชการกับเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อขอให้เพิกถอนหมายจับในคดีการชุมนุมของ 14 นักศึกษา ขบวนการประชาธิปไตยใหม่ที่เกิดขึ้นในปี 2558 และคดีสิ้นสุดไปแล้วเพื่อเตรียมเดินทางไปต่างประเทศ แต
27 วันของ “แซม ทะลุฟ้า” ในเรือนจำ
อ่าน

27 วันของ “แซม ทะลุฟ้า” ในเรือนจำ

พรชัย ยวนยี หรือ “แซม ทะลุฟ้า” ถูกฝากขังในเรือนจำในคดีมาตรา 112 จากการเข้าร่วมการชุมนุม เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2564 โดยตำรวจกล่าวหาว่า แซมร่วมกันวางแผนเพื่อปาระเบิดเพลิงใส่พระบรมฉายาลักษณ์ที่อยู่บนสะพานลอยหน้าโรงเรียนราชวินิตแต่ไม่ลุกไหม้ เพราะก่อนเกิดเหตุมีฝนตกหนักทำให้ซุ้มเปียกชื้น แซมมีแผนการเดินทางไปต่างประเทศ จึงไปรายงานตัวเพื่อ “เคลียร์” หมายจับสำหรับการเดินทาง และถูกแจ้งว่า มีหมายจับในคดีนี้ เขาถูกฝากขังในเรือนจำตั้งแต่วันที่ 7 กรก
ว่าด้วยรักและอุดมการณ์ของ “แซม ทะลุฟ้า” ในสายตาคู่ชีวิต
อ่าน

ว่าด้วยรักและอุดมการณ์ของ “แซม ทะลุฟ้า” ในสายตาคู่ชีวิต

“เอาจริงๆ นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่เราเจอเรื่องแบบนี้ เราเคยผ่านมันมาแล้ว กำลังใจเรายังดี ..” เสียงจากปลายสายโทรศัพท์ตอบกลับด้วยน้ำเสียงที่ยังคงสดใสเมื่อถูกถามถึงสภาพจิตใจ ในยามที่ต้องรับมือกับสารพัดปัญหาหลังคู่ชีวิตถูกคุมขังในเรือนจำแบบไม่มีใครทันตั้งตัว และศาลยังไม่ให้สิทธิในการประกันตัว แม้ว่าการต้องเข้าเรือนจำของ พรชัย ยวนยี หรือ แซม นักเคลื่อนไหวทางการเมืองในนามกลุ่มทะลุฟ้าและอดีตเลขาธิการสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย จะไม่ใช่เรื่องใหม่สำหรับ ‘เอ’ คู่ชีวิตของแซม แต่ภายใต้รัฐบาลที่สืบทอดอำนาจต่อมาจา