รวมกันเราอยู่ แยกหมู่กันเราเป็น สว. : แกะรอยคะแนน 8 จังหวัดนำในรอบเลือกกันเอง
อ่าน

รวมกันเราอยู่ แยกหมู่กันเราเป็น สว. : แกะรอยคะแนน 8 จังหวัดนำในรอบเลือกกันเอง

การเลือกสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ระดับประเทศจบลงด้วยปรากฏการณ์ที่บางจังหวัดสามารถส่งผู้สมัครเป็น สว. ได้อย่างมากมาย โดยรูปแบบการลงคะแนนของผู้สมัครที่มาจากบางจังหวัดที่มีผู้เข้ารอบไขว้และเป็น สว. มากกว่าจังหวัดอื่นสามารถบอกอะไรเราได้หลายอย่าง
เปิดภาพ ผู้สมัคร #สว67 “กลุ่มเสื้อเหลือง สูทดำ” นั่งด้วยกัน กลับด้วยกัน ขึ้นรถทะเบียนบุรีรัมย์
อ่าน

เปิดภาพ ผู้สมัคร #สว67 “กลุ่มเสื้อเหลือง สูทดำ” นั่งด้วยกัน กลับด้วยกัน ขึ้นรถทะเบียนบุรีรัมย์

เปิดภาพถ่ายส่วนหนึ่งจากวันเลือกสว. ระดับประเทศที่อิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี ซึ่งมีผู้สมัครจากทั่วประเทศเดินทางมาเลือกกันในรอบสุดท้าย ผู้สังเกตการณ์พบว่ามีผู้สมัครหลักร้อยคนที่แต่งตัวเหมือนกัน คือ ใส่เสื้อสีเหลืองที่เป็นเฉดสดกว่าเสื้อสีเหลืองปกติและเป็นเสื้อที่ใหม่มาก พร้อมสูทเรียบๆสีดำ และถือแฟ้มเอกสารลักษณะเดียวกัน
ผู้สมัคร สว. 67 ระดับประเทศ พบเห็นการเลือกไม่สุจริต รีบร้อง กกต. ภายใน 29 มิถุนายน 2567
อ่าน

ผู้สมัคร สว. 67 ระดับประเทศ พบเห็นการเลือกไม่สุจริต รีบร้อง กกต. ภายใน 29 มิถุนายน 2567

กฎหมายเลือก สว. เปิดทาง ผู้สมัคร สว. หากพบเห็นว่าการเลือกไม่ได้เป็นไปโดยสุจริต หรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย สามารถยื่นคัดค้านได้ กกต. มีอำนาจสั่งเลือกใหม่ได้
สว.67 ระดับประเทศ : กลุ่ม 15 ของคนมีอายุ-ข้าราชการ
อ่าน

สว.67 ระดับประเทศ : กลุ่ม 15 ของคนมีอายุ-ข้าราชการ

ระบบการเลือก สว. แบบแบ่งกลุ่มอาชีพที่ผสมรวมผู้ที่มีอัตลักษณ์หลากหลายไว้ด้วยกันทำให้ต้องมีบางกลุ่มที่อาจจะไม่มีตัวแทนเลยเนื่องจากมรจำนวนน้อยกว่า ในกรณีของกลุ่ม 15 เป็นที่ชัดเจนว่าจำนวนของผู้สมัครที่เห็นอายุของตนเองแล้วพบว่ามากประมาณหนึ่งมีจำนวนมากกว่ากลุ่มอัตลักษณ์อื่น ๆ อย่างมาก
สว.67 ระดับประเทศ: กลุ่ม 20 “อื่น ๆ” ที่ใครสมัครก็ได้
อ่าน

สว.67 ระดับประเทศ: กลุ่ม 20 “อื่น ๆ” ที่ใครสมัครก็ได้

ในบรรดา 20 กลุ่มอาชีพของการเลือกสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ตามรัฐธรรมนูญ 2560 กลุ่ม 20 หรือกลุ่มอาชีพอื่น ๆ เป็นกลุ่มที่มีรายละเอียดไม่ชัดเจนมากที่สุด กลุ่มอื่น ๆ จึงกลายเป็นสถานที่ที่มีผู้สมัครหลายประเภท แต่ขาดความสมเหตุสมผลของการเป็นตัวแทนของกลุ่มอาชีพตามที่ควรจะเป็น
สรุปเรื่องที่ต้องรู้ก่อนศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาล้มเลือก สว.
อ่าน

สรุปเรื่องที่ต้องรู้ก่อนศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาล้มเลือก สว.

ศาลรัฐธรรมนูญมีกำหนดจะพิจารณาลงมติในวันที่ 18 มิถุนายน 2567 ว่ามาตรา 107 แห่งรัฐธรรมนูญ 2560 ขัดกับสี่มาตราในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 (พ.ร.ป. สว.ฯ) หรือไม่
ชวนผู้สมัครสว. ที่เข้ารอบระดับจังหวัดมา “แนะนำตัวให้ทั่วกัน” ในพื้นที่เปิดเผย
อ่าน

ชวนผู้สมัครสว. ที่เข้ารอบระดับจังหวัดมา “แนะนำตัวให้ทั่วกัน” ในพื้นที่เปิดเผย

ขอเชิญชวนผู้สมัครสว. ใช้พื้นที่กลางที่เป็นพื้นที่เปิดในการทำความรู้จักแนะนำตัวซึ่งกันและกัน โดยเปิดเผยต่อสาธารณะ ในช่วงระหว่างวันที่ 13-15 มิถุนายน 2567 ตามจังหวัดต่างๆ
พบผู้สมัคร สว. ถูก กกต. ตัดสิทธิ แม้ลาออกจากพรรคก่อน กกต. ต้องแก้ไขปัญหาระบบฐานข้อมูล
อ่าน

พบผู้สมัคร สว. ถูก กกต. ตัดสิทธิ แม้ลาออกจากพรรคก่อน กกต. ต้องแก้ไขปัญหาระบบฐานข้อมูล

29 พฤษภาคม 2567 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เผยแพร่รายชื่อผู้สมัครสมาชิกกวุฒิสภาที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม อย่างไรก็ดี พบว่ามีผู้สมัคร สว. หลายคนที่ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองก่อนยื่นใบสมัคร สว. แล้ว
เช็คเลย! วิธีร้องต่อศาลกรณีผู้สมัครถูกลบชื่อ
อ่าน

เช็คเลย! วิธีร้องต่อศาลกรณีผู้สมัครถูกลบชื่อ

ภายหลังการปิดรับสมัครสมาชิกวุฒิสภา (สว.) หากผู้สมัคร สว. ถูก กกต. ตัดสิทธิโดยไม่พบชื่อของตนเองก็จะต้องดำเนินการร้องต่อศาลฎีกาเพื่อปกป้องสิทธิสมัครรับเลือกของตนเองภายในสามวันหลังประกาศรายชื่อผู้สมัครที่ตรวจสอบแล้ว