รายงาน: พ.ร.บ.ประชามติฯ กับความไม่เป็นธรรมที่ยังไร้คนรับผิด(ชอบ)
อ่าน

รายงาน: พ.ร.บ.ประชามติฯ กับความไม่เป็นธรรมที่ยังไร้คนรับผิด(ชอบ)

พ.ร.บ.ประชามติฯ เป็นอีกหนึ่งกฎหมายที่สร้างปัญหาความไม่เป็นธรรมในสังคมไทยขึ้นในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา และน่าเสียดายยิ่งไปกว่านั้นคือ เราอาจไม่มีบทลงโทษเพื่อเป็นบทเรียนให้กับผู้ออกกฎหมายและผู้บังคับใช้ซึ่งเป็นต้นเหตุของปัญหา
2 ปี สนช.: ผ่านกฎหมายอย่างน้อย 179 ฉบับ แม้ผ่านกฎหมายน้อยลง แต่ปัญหายังมีอยู่
อ่าน

2 ปี สนช.: ผ่านกฎหมายอย่างน้อย 179 ฉบับ แม้ผ่านกฎหมายน้อยลง แต่ปัญหายังมีอยู่

ครบรอบสองปี สนช.ยังคงเดินหน้าออกกฎหมายอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้หน้าที่การแต่งตั้งสรรหาบุคคลให้ดำรงแหน่งสำคัญยังดำเนินต่อไป และล่าสุดมีการเพิ่มจำนวน สนช.อีก 30 คน แต่จำนวนการเข้าประชุม สนช.ที่เป็นอยู่เดิมดูยังจะใช้ไม่เต็มประสิทธิภาพ
ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย
ค้านร่าง พ.ร.บ.แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย
อ่าน

ค้านร่าง พ.ร.บ.แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย

รวมพลังชาวบ้านหลายพื้นที่สัมปทานเหมืองแร่เมืองเลย ค้านร่างกฎหมายแร่ฉบับ คสช. หวั่น Mining Zone จะก่อให้เกิดความล่มสลายอย่างรุนแรงต่อชุมชนทั่วประเทศได้ เพราะเปิดทางให้ทำเหมืองได้ในพื้นที่ป่าสงวน การลดขั้นตอนการขอสัมปทานสำรวจและทำเหมืองแร่ให้สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้ เพื่อความรวดเร็วต่อเอกชนที่จะเข้ามาลงทุน โดยเฉพาะขั้นตอนปรึกษาหารือกับประชาชนในพื้นที่สัมปทาน
ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล
อ่าน

ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล

วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 ตัวแทนเครือข่ายพลเมืองเน็ตยื่น 40,000 รายชื่อ (ตัวเลข ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559) ที่ร่วมกันรณรงค์ออนไลน์ผ่าน change.org “หยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล” ต่อ นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่สอง เพื่อเรียกร้องให้ชะลอการพิจารณาร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่มีปัญหาในแง่การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งจะรบกวนการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ปลอดภัย
3 องค์กรยื่นหนังสือ สนช. หวั่นร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ละเมิดสิทธิ
อ่าน

3 องค์กรยื่นหนังสือ สนช. หวั่นร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ละเมิดสิทธิ

ตัวแทนแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เครือข่ายพลเมืองเน็ต และไพรเวซี อินเตอร์เนชั่นแนล ส่งจดหมายถึงสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) โดยในจดหมายระบุถึงข้อเสนอแนะและข้อสังเกตเกี่ยวกับร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่กำลังเสนอเข้าสู่การพิจารณาของ สนช.
พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?
อ่าน

พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?

ร่าง พ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ตั้งเป้าให้มีเขตทรัพยากรแร่ และอำนวยความสะดวกให้เอกชนขอสัมปทาน หากร่างผ่านการขอสัมปทานทำเหมืองแร่จะง่ายขึ้นมาก และพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบก็จะเพิ่มขึ้นอย่างมโหฬาร ส่วนหนึ่งเพราะร่าง พ.ร.บ.นี้อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ในพื้นที่หวงห้าม อย่างป่าสงวนหรือที่ ส.ป.ก.ได้
ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค. 59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. 2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า
คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน
อ่าน

คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับ "มีชัย" เผยโฉม หนึ่งในประเด็นที่ต้องจับตาก็คือส่วนของบทเฉพาะกาลที่ได้ขยายระยะเวลาโรดแมปจากเดิมที่เป็นสูตร 6-4-6-4 เป็น 6-4-8-2-5 นั่นหมายความว่า ถ้าประชามติร่างรัฐธรรมนูญผ่าน ประชาชนต้องอยู่กับ คสช. ไปอีกอย่างน้อย 5 เดือน
รวมกฎหมาย สนช.ที่ผ่านอย่างคาใจ
อ่าน

รวมกฎหมาย สนช.ที่ผ่านอย่างคาใจ

ภายใต้สถานการณ์ที่ไม่มีผู้แทนประชาชน ไม่มีฝ่ายค้าน ไม่มีการมีส่วนร่วมของประชาชน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผลิตกฎหมายจำนวนมากอย่างรวดเร็ว เพราะขาดการตรวจสอบถ่วงดุล และการมีส่วนร่วม ทำให้มีกฎหมายที่เป็นปัญหาและส่งผลต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ร่วมติดตามกฎหมายสำคัญที่ผ่าน สนช.และยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่