รวมปรากฏการณ์ ‘รูปแบบใหม่’ ของการคุกคามเสรีภาพ ตลอดปี 2564
อ่าน

รวมปรากฏการณ์ ‘รูปแบบใหม่’ ของการคุกคามเสรีภาพ ตลอดปี 2564

ตลอดปี 2564 นักกิจกรรมและคนที่ออกมาแสดงความคิดเห็นทางการเมืองต้องเผชิญหน้ากับปรากฏการณ์การคุกคามเสรีภาพการแสดงออกโดยใช้กระบวนการกฎหมายเป็นเครื่องมืออย่างหนัก นอกจากปี 2564 จะมีสถิติการชุมนุมทางการเมืองนับเป็นจำนวนครั้งมากที่สุด และก็มีคดีความทางการเมืองพุ่งสูงอย่างไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์แล้ว ยังเป็นปีที่ได้พบกับรูปแบบหรือเครื่องมือใหม่ๆ ที่ถูกนำมาใช้เพื่อคุกคาม สร้างอุปสรรค รวมถึงเพิ่มต้นทุนทางสังคมให้แก่ผู้ที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมือง การคุกคามรูปแบบเดิมๆ ต่อนักกิจกรรมที่เคลื่อนไหวทางการเมืองยังคงเ
เสวนาหน้าศาล: ทนาย-นักวิชาการ รุมอัดศาล! ไร้ความกล้าหาญที่จะยืนยันสิ่งที่ถูกต้อง
อ่าน

เสวนาหน้าศาล: ทนาย-นักวิชาการ รุมอัดศาล! ไร้ความกล้าหาญที่จะยืนยันสิ่งที่ถูกต้อง

เครือข่าย People Go Network จัดกิจกรรม เสวนาหน้าศาล ในหัวข้อ ความยุติธรรมกับการคืนสิทธิประกันตัวโดยไม่มีเงื่อนไข โดยมี ดร.เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คอรีเยาะ มานุแช สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน ร่วมวงเสวนา
“เมื่อเบี้ยประชุมตุลาการหนึ่งครั้ง มากกว่าค่าแรงงานขั้นต่ำกรรมกรหนึ่งเดือน”
อ่าน

“เมื่อเบี้ยประชุมตุลาการหนึ่งครั้ง มากกว่าค่าแรงงานขั้นต่ำกรรมกรหนึ่งเดือน”

สมชาย ปรัชาศิลปกุล จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เขียนบทความวิพากษ์ สนช. ที่พิจารณากฎหมายเพิ่มเบี้ยประชุมศาล ว่าการประชุมแต่ละครั้ง ได้เงินมากกว่ากรรมกรทำงานทั้งเดือน
เลือกตั้ง 62: บทบาทศาลกับการเลือกตั้ง
อ่าน

เลือกตั้ง 62: บทบาทศาลกับการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งในปี 2562 ศาลต่างๆ จะเข้ามามีบทบาทเกี่ยวการเลือกตั้งในหลายส่วน ภายใต้กติกาที่ คสช. ที่ไม่เป็นธรรมกับพรรคการเมืองทำให้ศาลถูกคาดหวังจากทุกฝ่าย สำหรับบทบาทของศาลในการเลือกตั้งกระจายไปตาม พ.ร.ป. สองฉบับ คือ พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้งส.ส. และพ.ร.ป.ว่าด้วย กกต.  
จะสี่ปีแล้วนะ (ไอ้สัตว์!) :  สุ้มเสียงแห่งความอึดอัดและการทวงสัญญา
อ่าน

จะสี่ปีแล้วนะ (ไอ้สัตว์!) : สุ้มเสียงแห่งความอึดอัดและการทวงสัญญา

ถ้ารัฐบาลคสช.เข้าสู่อำนาจผ่านการเลือกตั้งในปี 2557 พวกเขาก็จะครบวาระสี่ปีของการทำงานในเดือนพฤษภาคม 2561 และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป แล้วถ้าหากประชาชนพึงพอใจการทำงานคสช.ก็จะมีโอกาสได้รับการเลือกตั้งให้ทำงานต่อ แต่หากเป็นไปในทางตรงกันข้ามประชาชนก็จะเลือกพรรคการเมืองใหม่ที่นำเสนอนโยบายเป็นที่พอใจของประชาชนเข้ามาทำหน้าที่แทน แต่เนื่องจากรัฐบาลคสช.ไม่ได้เข้าสู่อำนาจตามกฏิกาปกติหากแต่ผ่านการระบุว่าพวกเขาเป็น “รัฎฐาธิปัตย์” กรอบระยะเวลาการทำงานจึงไม่ใช่ระยะเวลาสี่ปีตามปกติหากแต่เป็นเป็นกรอบเวลาตามที่คสช.ในฐานะผู้มีอำนาจเต็มเห็นควร 
อ่าน

ศาลเสนอแก้ไขกฎหมาย ป.วิอาญา ป้องกัน ‘ประชาชนฟ้องแกล้งกัน’

17 เมษายน 2561 สุริยัณห์ หงษ์วิไล โฆษกศาลยุติธรรมออกมาเปิดเผยว่า สำนักงานศาลยุติธรรมมีการเสนอเเก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อป้องกันการใช้สิทธิฟ้องคดีอาญาโดยมีเจตนาไม่สุจริต โดยร่างกฎหมายดังกล่าวอยู่ในการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และจะส่งให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป