4 ข้อควรรู้ ส.ว. แต่งตั้ง
อ่าน

4 ข้อควรรู้ ส.ว. แต่งตั้ง

รายชื่อ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จำนวน 250 คน ประกาศอย่างเป็นทางการแล้ว มีคนหน้าซ้ำ เคยรับตำแหน่งในยุค คสช. ได้รับแต่งตั้งเป็น ส.ว.157 คน
ส.ว.แต่งตั้ง: อาชีพไหนมีโอกาสได้รับการแต่งตั้ง คสช. มากที่สุด
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: อาชีพไหนมีโอกาสได้รับการแต่งตั้ง คสช. มากที่สุด

ภายในสามวันหลังประกาศผลเลือกตั้ง ส.ส.  คสช. ต้องประกาศรายชื่อ ส.ว. ชุดแรก ตามรัฐธรรมนูญปี 2560 และด้วยความที่กระบวนการคัดเลือก ส.ว. ถูกรวมศูนย์ไว้ที่คสช. จึงเกิดคำถามต่อไปว่า อาชีพไหนมีโอกาสได้รับการแต่งตั้ง คสช. มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบจากการแต่งตั้งคนในยุคคสช. ที่ผ่านมา
จ่ายงบ 1,303 ล้านบาท ให้ คสช. แต่งตั้ง ส.ว. 50 คน
อ่าน

จ่ายงบ 1,303 ล้านบาท ให้ คสช. แต่งตั้ง ส.ว. 50 คน

กกต. เปิดเผยงบประมาณการคัดเลือก ส.ว. ประเภทกลุ่มอาชีพจำนวน 50 คน ไว้ประมาณ 1,303 ล้านบาท เหตุที่ต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาล เพราะการออกแบบกติกาอย่างซับซ้อน ให้ดูเหมือน ส.ว.ชุดนี้มาจากตัวแทนกลุ่มประชาชนที่หลากหลาย เพื่อสร้างความชอบธรรมก่อนถึงขั้นตอนสุดท้ายเพื่อให้ คสช. เลือก
การคัดเลือก ส.ว. กลุ่มอาชีพเริ่มแล้ว! แต่ให้ คสช. เป็นคนเลือกด่านสุดท้าย
อ่าน

การคัดเลือก ส.ว. กลุ่มอาชีพเริ่มแล้ว! แต่ให้ คสช. เป็นคนเลือกด่านสุดท้าย

ตาม พ.ร.ป.การได้มาซึ่ง ส.ว. มาตรา 90 (1) (ก) กำหนดให้ กกต. จัดให้มีการคัดเลือก ส.ว.กลุ่มอาชีพจำนวน 200 คน ให้แล้วเสร็จก่อนวันที่มีการเลือกตั้ง ส.ส. ครั้งแรก ไม่น้อยกว่า 15 วัน จากนั้นให้ คสช. พิจารณาคัดเลือกให้เหลือ 50 คน ทั้งนี้ กกต. ได้ตรา พ.ร.ฎ.ให้เลือก ส.ว. ตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายนที่ผ่านมา และคาดว่ารายชื่อ ส.ว.กลุ่มอาชีพ จะถึงมือ คสช. ในวันที่ 16 มกรคาม 2562
อ่าน

สนช. แก้ที่มาคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) ผู้พิพากษาเลือกกันเองหมด เลิกระบบ ส.ว. ช่วยเลือก

การยื่นถอดถอน ชำนาญ รวิวรรณพงษ์ “กรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” ทำให้สังคมได้รู้จักชื่อของ "คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม"  หรือ ก.ต. มากขึ้น ก.ต. เป็นหนึ่งในสามองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บริหารงานของศาลยุติธรรม และ สนช. กำลังพิจารณาแก้ไขที่มาของ ก.ต. ซึ่งจะทำให้ผู้พิพากษาเป็นผู้เลือกเองทั้งหมด
อ่าน

กมธ.ร่วมฯ แก้ไขกฎหมายลูก ส.ว. เพิ่มบทเฉพาะกาล ส.ว. ชุดที่สองเลือกไม่เหมือนชุดอื่น

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยที่มา ส.ว.ฯ ยังไม่เป็นที่ถูกใจของผู้ที่เกี่ยวข้องเสียที นำไปสู่การตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญร่วมสามฝ่ายซึ่งประกอบไปด้วยประธาน กกต., กรธ. 5 คน และสนช. 5 คน และก็เคาะผลลัพธ์กันออกมา กลายเป็นมีสองระบบในบททั่วไปกับในบทเฉพาะกาล
ร่าง พ.ร.บ.การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ  คสช. เตรียมเขียนข้อผูกพันรัฐยาวนาน 20 ปี เตรียม “ลักไก่” ไม่ต้องมีส่วนร่วมอีก
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ คสช. เตรียมเขียนข้อผูกพันรัฐยาวนาน 20 ปี เตรียม “ลักไก่” ไม่ต้องมีส่วนร่วมอีก

ร่าง พ.ร.บ.ยุทธศาสตร์ชาติฯ จัดทำขึ้นตามมาตรา 65 ของรัฐธรรมนูญ 2559 เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนต่างๆ เพื่อการพัฒนาประเทศ 20 ปี และมีการทบทวนทุก 5 ปี ซึ่งหน่วยงานรัฐทุกหน่วยงานจะต้องดำเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติที่วางเอาไว้ รวมทั้งต้องจัดทำแผนงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้วย 
ใครออกกฎหมาย? 2: ส่องสนช. ‘สภาอาวุโส’ วัยหลังเกษียณ 75% พบแก่สุด 92 ปี อ่อนสุด 51 ปี
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 2: ส่องสนช. ‘สภาอาวุโส’ วัยหลังเกษียณ 75% พบแก่สุด 92 ปี อ่อนสุด 51 ปี

สมาชิก สนช. จำนวน 250 คน พบว่าอายุเฉลียของทั้งสภาอยู่ที่ 64 ปี ขณะที่คนวัยเกษียณ หรืออายุ 60 ปีขึ้นไป มีจำนวน 185 คน หรือคิดเป็น 75% ของทั้งสภา หากแบ่งตามเพศกำเนิด เป็นเพศชาย 238 คน และเพศหญิง 12 คน เรียกว่าผู้ชายครอบครองพื้นที่ของสภาถึง 95%
ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย
4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง