วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย
อ่าน

วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย

การละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงห้ามวิจารณ์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำด้วยความไม่สุจริตและใช้ถ้อยคำหรือความหมายที่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้ายอีกด้วย ซึ่งมีบทลงโทษสูงสุดคือ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
นักกฎหมายแนะเพิ่มระบบตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ ยันประชาชนใหญ่สุด วิจารณ์ศาลได้
อ่าน

นักกฎหมายแนะเพิ่มระบบตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ ยันประชาชนใหญ่สุด วิจารณ์ศาลได้

19 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ห้องประชุมคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ท่าพระจันทร์ มีวงเสวนาเรื่องประชาชนอยู่ตรงไหน เมื่อตุลาการเป็นใหญ่ในแผ่นดิน วิทยากรประกอบด้วย ผศ.ธีระ สุธีวรางกูร คณะนิติศาสตร์ มธ., ดร.เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ, รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาฯ มธ. และสัณหวรรณ สีสด จากคณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล
เชิญ รศ.โกวิท เข้าพบเหตุทวีตวิจารณ์ “เกินคำว่า ด้าน” เป็นการใช้อำนาจครั้งแรก หลังมีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เชิญ รศ.โกวิท เข้าพบเหตุทวีตวิจารณ์ “เกินคำว่า ด้าน” เป็นการใช้อำนาจครั้งแรก หลังมีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ

27 สิงหาคม 2562 สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญออกจดหมายเชิญ รศ.โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ เข้าชี้แจงข้อเท็จจริงจากการโพสต์ข้อความวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ
ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด
อ่าน

ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด

ในหลายประเทศที่ก้าวหน้าทางประชาธิปไตย เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร อินเดีย เปิดพื้นที่ให้ประชาชนทำหน้าที่ตรวจสอบศาลผ่านการวิพากษ์วิจารณ์
สื่อวิจารณ์ศาลได้ โดยข้อเท็จจริงที่ถูกต้องและเป็นธรรม ไม่เป็นความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล
อ่าน

สื่อวิจารณ์ศาลได้ โดยข้อเท็จจริงที่ถูกต้องและเป็นธรรม ไม่เป็นความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล

ความผิดฐาน “ละเมิดอำนาจศาล” เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อสื่อ เพื่อปิดกั้นการเคลื่อนไหว การวิพากษ์วิจารณ์ และการว่าร้ายโจมตีการทำงานของศาล