หลักฐานไม่พอ! ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครอง
อ่าน

หลักฐานไม่พอ! ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครอง

22 พฤศจิกายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งไม่รับคำร้อง ที่ธีรยุทธ สุวรรณเกษร ยื่นคำร้องให้วินิจฉัยว่าทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง โดยเหตุผลคือยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอ
จับตาศาลรัฐธรรมนูญ รับ/ไม่รับคำร้อง ปมทักษิณ-พรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง
อ่าน

จับตาศาลรัฐธรรมนูญ รับ/ไม่รับคำร้อง ปมทักษิณ-พรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีนัดประชุมเพื่อพิจารณาว่าจะรับหรือไม่รับคำร้อง กรณีธีรยุทธ สุวรรณเกษร ยื่นคำร้องให้วินิจฉัยว่าทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองหรือไม่
จับตาคดียุบพรรคก้าวไกล ปมเสนอแก้ ม. 112 ล้มล้างการปกครองฯ 
อ่าน

จับตาคดียุบพรรคก้าวไกล ปมเสนอแก้ ม. 112 ล้มล้างการปกครองฯ 

7 สิงหาคม 2567 เวลา 15.00 น. ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัย คดียุบพรรคก้าวไกล หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญแถลงยุติการไต่สวน ในขณะที่พรรคก้าวไกลแถลงข่าวบรรยายข้อต่อสู้ที่ใช้ในชั้นศาล ยืนยันว่าการยื่นคำร้องของ กกต. ไม่ชอบด้วยกฎหมายและศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจตัดสินคดีนี้ 
เขียนใหม่ไม่ใช่ล้มล้าง! ตอบคำถาม เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ “ไม่ใช่วิธีล้มล้างการปกครอง”
อ่าน

เขียนใหม่ไม่ใช่ล้มล้าง! ตอบคำถาม เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ “ไม่ใช่วิธีล้มล้างการปกครอง”

ข้อถกเถียงว่า “จะเขียนรัฐธรรมนูญใหม่อย่างไรดี” นั้นถูกแบ่งออกเป็นสองความคิดเห็นใหญ่ๆ คือ กลุ่มที่สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ต้องแก้ไขได้ในทุกหมวดทุกมาตรา และกลุ่มที่สนับสนุนให้ละเว้นการเขียนใหม่หรือการแก้ไขในรัฐธรรมนูญหมวด 1 บททั่วไป และหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ไว้ดังเดิม คำกล่าวอ้างสำคัญ คือ กังวลว่าจะเกิดความพยายามในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองของรัฐไทย ทั้งจากการเป็นรัฐเดี่ยวอันแบ่งแยกมิได้ และการธำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อย่างไรก็ตาม การแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อเปิดช่องให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นั้นอยู่ภายใต้ มาตรา 255 ซึ่งขวางการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองไว้แล้ว รวมทั้งในอดีตรัฐธรรมนูญทั้งหมวด 1 และหมวด 2 ยังเคยถูกแก้ไขตาม “ข้อสังเกตพระราชทาน” หลังผ่านการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญมาแล้วอีกด้วย
3 ปัญหาทางกฎหมาย ใน “วิธีวินิจฉัย” ก่อนสั่ง อานนท์-ไมค์-รุ้ง ล้มล้างการปกครองฯ
อ่าน

3 ปัญหาทางกฎหมาย ใน “วิธีวินิจฉัย” ก่อนสั่ง อานนท์-ไมค์-รุ้ง ล้มล้างการปกครองฯ

ก่อนจะมาถึงข้อวิเคราะห์ให้การชุมนุมเป็นการล้มล้างระบอบการปกครองฯ และคำสั่งห้ามกระทำการลักษณะเดิมอีก วิธีพิจารณาคดีและทำคำสั่งของศาลรัฐธรรมนูญมีข้อสงสัยและปัญหาในทางกฎหมายที่ต้องพิจารณาหลายประการ
ศาลรัฐธรรมนูญ: ข้อเท็จจริงที่ไม่กระจ่างในคำวินิจฉัยศาล
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญ: ข้อเท็จจริงที่ไม่กระจ่างในคำวินิจฉัยศาล

10 พฤศจิกายน 2564 ศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่ผลงาน "ช้ินโบว์แดง" อ่านคำวินิจฉัยในคดี "ล้มล้างการปกครอง" สั่งว่า การปราศรัยของอานนท์ นำภา, ไมค์ ภาณุพงศ์, รุ้ง ปนัสยา เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2564 เข้าข่ายการกระทำที่ล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แต่ทว่า ข้อเท็จจริงที่ศาลอ้างในคำวินิจฉัยกลับมีจุดที่ไม่กระจ่างอยู่หลายจุด
ถอดทุกคำ จากการอ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ คดีล้มล้างการปกครองฯ
อ่าน

ถอดทุกคำ จากการอ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ คดีล้มล้างการปกครองฯ

ศาลรัฐธรรมนูญนัดอ่านคำวินิจฉัยในคดีที่ ณฐพร โตประยูร ร้องขอให้วินิจฉัยว่าการชุมนุมและปราศรัยของนักกิจกรรมเข้าข่ายล้มล้างระบอบประชาธิปไตยหรือไม่
ฝ่ายอนุรักษ์นิยมหวังยืมมือศาลรัฐธรรมนูญ “ล้มกระดาน” ม็อบคณะราษฎร
อ่าน

ฝ่ายอนุรักษ์นิยมหวังยืมมือศาลรัฐธรรมนูญ “ล้มกระดาน” ม็อบคณะราษฎร

การชุมนุม "ขยับเพดาน" ของกลุ่มนักศึกษา ทำให้ฝ่ายอนุรักษ์นิยม นำโดย "ณฐพร โตประยูร" อดีตนักร้อง(เรียน)ที่เคยยื่นเรื่องยุบพรรคอนาคตใหม่มาก่อน ได้ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญอีกครั้ง โดยความฝันอันสูงสุด ไม่ใช่แค่การสกัดการชุมนุมของประชาชน แต่เป็นความพยายามในการ "ล้มกระดาน" การจัดชุมนุมของกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ที่เรียกตัวเองว่า "คณะราษฎร" 
21 มกราคม คดี “ล้มล้างการปกครองฯ” ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคดีไว้วินิจฉัยหรือไม่?
อ่าน

21 มกราคม คดี “ล้มล้างการปกครองฯ” ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคดีไว้วินิจฉัยหรือไม่?

ในวันที่ 21 มกราคม 2563 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคำร้องขอให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ โดยอ้างว่า พรรคการเมืองนี้กระทําการอันอาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือที่เรียกชื่อเล่นว่า คดีอิลลูมินาติ แต่อย่างไรก็ดี คดีดังกล่าวมีประเด็นทางกฎหมายที่จำเป็นจะต้องวินิจฉัยเรื่องอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญก่อนว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจออกคำวินิจฉัยในประเด็นการสั่งยุบพรรคการเมืองได้หรือไม่