คดี 3 ทะลุฟ้าละเมิดอำนาจศาล ฎีการะบุพฤติการณ์ไม่รบกวนการพิจารณา ให้รอลงอาญาโทษจำคุก 15 วัน
อ่าน

คดี 3 ทะลุฟ้าละเมิดอำนาจศาล ฎีการะบุพฤติการณ์ไม่รบกวนการพิจารณา ให้รอลงอาญาโทษจำคุก 15 วัน

ศาลฎีกาพิพากษาแก้ว่า ในช่วงเวลาดังกล่าวมีผู้พิพากษาไม่ได้ออกนั่งจึงไม่ได้ก่อให้เกิดการรบกวนการพิจารณาคดีมากนัก เปลี่ยนโทษกักขังเป็นโทษจำคุก 15 วันและรอลงอาญาโทษจำคุกไว้ก่อน
ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้จำคุก 1 เดือนรอลงอาญา คดีละเมิดอำนาจศาล ปรับ 500 เหลือลุ้นอีก 1 คดี
อ่าน

ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้จำคุก 1 เดือนรอลงอาญา คดีละเมิดอำนาจศาล ปรับ 500 เหลือลุ้นอีก 1 คดี

วันที่ 4 มิถุนายน 2567 เวลา 9.00 น. ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาของศาลฎีกาในคดีละเมิดอำนาจศาล คดี ของ “ณัฐชนน ไพโรจน์” นักกิจกรรมและบัณฑิตจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยคดีนี้ ในศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษกักขังเป็นเวลา 1 เดือน 
คดี #ละเมิดอำนาจศาล   พิจารณา “กึ่งเปิดเผย” แต่ “ห้ามจด” คำพูดผู้พิพากษา
อ่าน

คดี #ละเมิดอำนาจศาล พิจารณา “กึ่งเปิดเผย” แต่ “ห้ามจด” คำพูดผู้พิพากษา

หลักประกันสุดท้ายที่จะช่วยยืนยันว่า จำเลยเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน และกระบวนการพิจารณาคดีที่เป็นธรรม คือ การพิจารณาโดยเปิดเผยต่อสาธารณชนอย่างเต็มที่
เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะ
อ่าน

เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะ

วันที่ 7 ตุลาคม 25…
วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย
อ่าน

วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย

การละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงห้ามวิจารณ์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำด้วยความไม่สุจริตและใช้ถ้อยคำหรือความหมายที่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้ายอีกด้วย ซึ่งมีบทลงโทษสูงสุดคือ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ศาลรัฐธรรมนูญออกข้อกำหนด “ห้ามวิจารณ์ศาล” มีผลบังคับใช้ 17 ตุลาคม 2562
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญออกข้อกำหนด “ห้ามวิจารณ์ศาล” มีผลบังคับใช้ 17 ตุลาคม 2562

17 กันยายน 2562 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ข้อกำหนดศาลรัฐธรรมนูญ ที่นำบัญญัติเรื่องการ “ห้ามวิจารณ์ศาลโดยไม่สุจริต” มาบรรจุไว้
ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด
อ่าน

ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด

ในหลายประเทศที่ก้าวหน้าทางประชาธิปไตย เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร อินเดีย เปิดพื้นที่ให้ประชาชนทำหน้าที่ตรวจสอบศาลผ่านการวิพากษ์วิจารณ์
เปรียบเทียบ “ขอบเขต-บทลงโทษ” ในข้อหา “ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล”
อ่าน

เปรียบเทียบ “ขอบเขต-บทลงโทษ” ในข้อหา “ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล”

ศาลจะสามารถดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีโดยไม่ต้องกังวลว่าจะถูกแทรกแซงหรือขัดขวางการทำงาน กฎหมายละเมิดอำนาจศาลจึงถูกกำหนดขึ้น