การแก้ปัญหามลพิษที่ไปไม่สุดของ พ.ร.บ.แร่ ฉบับใหม่
อ่าน

การแก้ปัญหามลพิษที่ไปไม่สุดของ พ.ร.บ.แร่ ฉบับใหม่

หลังจากเกิดกระแสต่อต้านมาอย่างต่อเนื่อง ในที่สุดพ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ ก็ประกาศใช้เมื่อต้นปี 2560 หนึ่งในจุดเด่น คือ มาตรการปกป้องสิ่งแวดล้อมไว้ที่หลากหลายขึ้น รวมทั้งเปลี่ยนผู้มีอำนาจตัดสินใจเป็นรูปแบบคณะกรรมการ แต่ก็ยังมีจุดอ่อนแบบเนียน ๆ ของกฎหมายฉบับนี้
สรุปเสวนา: วิเคราะห์ร่าง พ.ร.บ.แร่ เอื้อเอกชนทำเหมืองง่าย ภาคประชาชนคัดค้าน
อ่าน

สรุปเสวนา: วิเคราะห์ร่าง พ.ร.บ.แร่ เอื้อเอกชนทำเหมืองง่าย ภาคประชาชนคัดค้าน

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ของประเทศไทย จัดเวทีวิเคราะห์กฎหมายแร่ฉบับใหม่ ในหัวข้อ “พ.ร.บ.แร่ นี่มันแย่จริงๆ” นอกจากนี้ตัวแทนเครือข่ายประชาชนผู้รับผลกระทบจากหกพื้นที่สะท้อนปัญหาและคัดค้านร่าง พ.ร.บ.แร่
ค้านร่าง พ.ร.บ.แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย
อ่าน

ค้านร่าง พ.ร.บ.แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย

รวมพลังชาวบ้านหลายพื้นที่สัมปทานเหมืองแร่เมืองเลย ค้านร่างกฎหมายแร่ฉบับ คสช. หวั่น Mining Zone จะก่อให้เกิดความล่มสลายอย่างรุนแรงต่อชุมชนทั่วประเทศได้ เพราะเปิดทางให้ทำเหมืองได้ในพื้นที่ป่าสงวน การลดขั้นตอนการขอสัมปทานสำรวจและทำเหมืองแร่ให้สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้ เพื่อความรวดเร็วต่อเอกชนที่จะเข้ามาลงทุน โดยเฉพาะขั้นตอนปรึกษาหารือกับประชาชนในพื้นที่สัมปทาน
พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?
อ่าน

พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?

ร่าง พ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ตั้งเป้าให้มีเขตทรัพยากรแร่ และอำนวยความสะดวกให้เอกชนขอสัมปทาน หากร่างผ่านการขอสัมปทานทำเหมืองแร่จะง่ายขึ้นมาก และพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบก็จะเพิ่มขึ้นอย่างมโหฬาร ส่วนหนึ่งเพราะร่าง พ.ร.บ.นี้อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ในพื้นที่หวงห้าม อย่างป่าสงวนหรือที่ ส.ป.ก.ได้
ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในการใช้ชีวิตของประชาชน
ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค. 59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. 2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า
Mining Zone  ในร่างกฎหมายแร่มีสภาพบังคับ  ไม่ใช่ดุลพินิจ
อ่าน

Mining Zone ในร่างกฎหมายแร่มีสภาพบังคับ ไม่ใช่ดุลพินิจ

เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ โต้งแย้งบทความของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เรื่องอำนาจจัดทำ‘แผนแม่บทบริหารจัดการแร่’ ในร่างพ.ร.บ.แร่ ชี้ถึงแม้จะมีแผนแม่บทก็ต้องยึดการแบ่ง Mining Zone เป็นหลัก ไม่อาจเขียนแผนแม่บทกระทบการแบ่ง Mining Zone ได้
ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา