เปิดข้อเสนอ สนช.ขอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย
อ่าน

เปิดข้อเสนอ สนช.ขอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย

ปิดรับข้อเสนอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นที่เรียบร้อยเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 สนช.ได้ส่งความคิดเห็นเพื่อให้ กรธ.พิจารณาแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สมบูรณ์เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการออกเสียงประชามติในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม 2559 โดย สนช.มีข้อเสนอหลายประเด็นที่น่าสนใจ
จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’
อ่าน

จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’

ภายหลังที่มีการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ “มีชัย ฤชุพันธุ์” ไม่นานกระแสวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญก็ทยอยออกมาไม่ว่าจะเป็นความเห็นจากอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นักการเมือง พรรคการเมือง นักวิชาการ นักกฎหมาย และภาคประชาสังคม ทั้งนี้ เราได้ทำการรวบรวมความเห็นส่วนหนึ่งไว้เพื่อสะท้อนมุมมองของแต่ละฝ่ายว่ามีความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญอย่างไร
คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน
อ่าน

คสช. อยู่ต่อเลยได้ไหม เมื่อกรธ. กดสูตรเพิ่มเวลาโรดแมปได้อีก 5 เดือน

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับ "มีชัย" เผยโฉม หนึ่งในประเด็นที่ต้องจับตาก็คือส่วนของบทเฉพาะกาลที่ได้ขยายระยะเวลาโรดแมปจากเดิมที่เป็นสูตร 6-4-6-4 เป็น 6-4-8-2-5 นั่นหมายความว่า ถ้าประชามติร่างรัฐธรรมนูญผ่าน ประชาชนต้องอยู่กับ คสช. ไปอีกอย่างน้อย 5 เดือน
เส้นทางก่อนจะถึงวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ’59
อ่าน

เส้นทางก่อนจะถึงวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ’59

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 ร่างแรกถูกเผยแพร่เรียบร้อย หากไม่เกิดอุบัติเหตุทางการเมือง เส้นทางของร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะจบลงที่การทำประชามติ ระยะเวลาประมาณห้าเดือนหลังจากนี้จึงเป็นช่วงเวลาสำคัญในการกำหนดทิศทางการออกเสียงประชามติ
‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน
อ่าน

‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน

มีชัย ฤชุพันธ์ุ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ คนล่าสุด ผู้มีประสบการณ์โชกโชนในวงการเมืองและกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรอบ 20 ปัหลังเมื่อเกิดรัฐประหารเขาจะเป็นคนแรกที่ทหารคิดถึง ชวนทำความรู้จักมีชัย และความคิดบ้างส่วนของเขา
คุยกับ “จ่านิว” สิรวิชญ์: ไม่เอาแล้วกระบวนร่างที่ขาดการมีส่วนร่วมและซ่อนอำนาจพิเศษในร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

คุยกับ “จ่านิว” สิรวิชญ์: ไม่เอาแล้วกระบวนร่างที่ขาดการมีส่วนร่วมและซ่อนอำนาจพิเศษในร่างรัฐธรรมนูญ

เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 มีการเปิดเผยชื่อคณะกรรมาการร่างรัฐธรรมนูญ แต่ก็มีเสียงอีกด้านที่ไม่เห็นด้วย ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ สิรวิชญ์ เสรีธิวัฒน์ หรือ "จ่านิว" นักศึกษาจากรั้วธรรมศาสตร์ ลองเปิดใจรับฟังเหตุผล และคำตอบของคำถามที่ว่า "รัฐธรรมนูญแบบไหน ไม่เอาแล้ว"
ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี
อ่าน

ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อ เกี่ยวกับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ 3 ชุด และการร่างรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี น่าจะช่วยเราตอบคำถามว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญที่พึงปรารถนาควรมีที่มาอย่างไร? ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลแบบใด? และเราจะยังวนเวียนอยู่กับนักร่างรัฐธรรมนูญหน้าเก่าต่อไปอีกหรือ?
สปช.จังหวัด-ข้าราชการ-ทหาร-ตำรวจรวมพล โหวตคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

สปช.จังหวัด-ข้าราชการ-ทหาร-ตำรวจรวมพล โหวตคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

ภายหลัง สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) มีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนน 135 เสียง หากวิเคราะห์ทิศทางการลงมติจะพบว่า กลุ่มอาชีพข้าราชการพลเรือน-ทหาร-ตำรวจ เป็นส่วนใหญ่ที่ไม่เห็นชอบ และกลุ่มเอ็นจีโอส่วนใหญ่สนับสนุน แต่หากแบ่งตามที่มาจะพบว่า สปช.จังหวัด จำนวนมากไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ
ความเห็นทางกฎหมายของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 3: ร่างรัฐธรรมนูญไม่สอดคล้องกับอุดมการณ์ประชาธิปไตย
อ่าน

ความเห็นทางกฎหมายของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 3: ร่างรัฐธรรมนูญไม่สอดคล้องกับอุดมการณ์ประชาธิปไตย

ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนออกความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญว่า "ไม่สอดคล้องกับอุดมการณ์รัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย" มีแต่จะทำให้รัฐบาลขาดเสถียรภาพ จำกัดอำนาจของผู้แทนประชาชน รวมไปถึงมีกลไกพิเศษยึดอำนาจอย่างชอบธรรม
เทียนฉายโชว์ผลงาน สปช. เผย “สมาชิกรู้ดีว่าเราฉีกใบสั่งทิ้งไปกี่ใบ”
อ่าน

เทียนฉายโชว์ผลงาน สปช. เผย “สมาชิกรู้ดีว่าเราฉีกใบสั่งทิ้งไปกี่ใบ”

เทียนฉาย กีระนันท์ ประธาน สปช. กล่าวถึงการทำงานตลอด 1 ปีที่ผ่านมาของ สปช. และยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง สปช. กับกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญว่ามีความลึกซึ้ง ยากจะอธิบาย เผย "เรื่องคานงัด" ที่ต้องปฏิรูปใหญ่มี 2 เรื่อง คือ การบริหารราชการแผ่นดินและการศึกษา