#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ

28 กุมภาพันธ์ 2566 จะเป็นวันปิดสมัยประชุมสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 62 หากร่างกฎหมายใดที่พิจารณาไม่ทันสภาชุดนี้ ก็จะเป็นอันตกไป หนึ่งในร่างกฎหมายที่อาจพิจารณาไม่ทันคือ #สมรสเท่าเทียม อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญ 60 ก็ยังเปิดช่องให้ร่างกฎหมายที่ตกไป มีทางไปต่อได้
สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม

15 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิตสองฉบับ หนึ่งฉบับเสนอโดยครม. อีกหนึ่งฉบับเสนอโดยส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 
เทียบชัดๆ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ต่างกันยังไง?
อ่าน

เทียบชัดๆ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ต่างกันยังไง?

15 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ที่เสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างกฎหมายคู่ชีวิต 2 ฉบับ ซึ่งเสนอโดยครม. และส.ส.พรรคประชาธิปัตย์
หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม

เมื่อ 9 ก.พ. 2565 ครม. อุ้มร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม ไปศึกษาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการ โดยจัดรับฟังความเห็นจากหน่วยงานรัฐ หน่วยงานรัฐแปดหน่วยงานที่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว ขณะที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้ความเห็นต่อครม. ว่าไม่สมควรรับหลักการ
จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?
อ่าน

จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?

10 มิถุนายน 2564 กลุ่ม Nitihub จัดงานเสวนาวิชาการออนไลน์ในหัวข้อ “LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม ?” ประกอบด้วยวิทยากรหลักห้าคน ได้แก่ ศาสตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ รองศาสตราจารย์มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล เคท ครั้งพิบูลย์ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ศิริศักดิ์ ไชยเทศ และอัครวัฒน์ เลาวัณย์ศิริ พูดคุยกันถึงประเด็นปัญหาทางสังคม-กฎหมาย ที่ยังไม่เปิดพื้นที่แก่ LGBTQI
Pride Month: สำรวจ ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต-กฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส
อ่าน

Pride Month: สำรวจ ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต-กฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

มิถุนายนถูกกำหนดให้เป็น Pride Month แต่ไทยก็ยังไม่มีกฎหมายรับรอง 'สิทธิในการก่อตั้งครอบครัว' ของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หลายกลุ่มได้เริ่มผลักดันกฎหมายโดยมีอยู่ 2 แนวทางหลัก เสนอให้ยกร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ออกมาเป็นกฎหมายแยก และแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ทำไมต้องรีบผ่านในช่วงโค้งสุดท้ายของ สนช.
อ่าน

กฎหมายคุ้มครองสิทธิ ทำไมต้องรีบผ่านในช่วงโค้งสุดท้ายของ สนช.

ช่วงโค้งสุดท้าย ก่อนที่ สนช. จะหมดอายุไปภายหลังการเลือกตั้ง มีกฎหมายที่เป็นประโยชน์กับประชาชนถูกเสนอหรือเตรียมที่จะเสนอเข้าสู่การพิจารณาจำนวนไม่น้อย ตัวอย่างเช่น ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานฯ วิเคราะห์เหตุจูงใจทางการเมืองทำไมถึงมากันเยอะในช่วงนี้
กรมคุ้มครองสิทธิฯ เผยสามร่างกฎหมายคุ้มครองเสรีภาพประชาชน ร่างเสร็จพร้อมเสนอ
อ่าน

กรมคุ้มครองสิทธิฯ เผยสามร่างกฎหมายคุ้มครองเสรีภาพประชาชน ร่างเสร็จพร้อมเสนอ

ร่างพ.ร.บ.จดทะเบียนคู่ชีวิต ร่างพ.ร.บ.ข้อสัญญาไม่เป็นธรรม กรณีเกษตรพันธะสัญญา และร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญา ประเด็นต่อต้านการทรมาน กรมคุ้มครองสิทธิร่างเสร็จแล้ว แต่ยังไม่ได้เสนอ เพราะรอ10,000 ชื่อจากประชาชน
ดันกฎหมายคู่ชีวิตต่อ-เครือข่ายLGBT ยื่นหนังสือท้วงติง
อ่าน

ดันกฎหมายคู่ชีวิตต่อ-เครือข่ายLGBT ยื่นหนังสือท้วงติง

สภาจัดรับฟังความคิดเห็น ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต เครือข่ายความหลากหลายทางเพศยื่นหนังสือท้วงติง ยังขาดเรื่องสิทธิในการดูแลบุตร ไม่ควรเลือกปฏิบัติ หรือกำหนดให้แตกต่างกับคู่สมรสชายหญิง
สิทธิตามกฎหมายที่คู่รักเกย์ เลสเบี้ยนเข้าไม่ถึง
อ่าน

สิทธิตามกฎหมายที่คู่รักเกย์ เลสเบี้ยนเข้าไม่ถึง

รอบตัวเรามีคู่รักที่ใช้ชีวิตด้วยกัน ทั้งคู่หญิงชาย หญิงหญิง ชายชาย ฯลฯ แต่คู่รักหญิงชายมีทางเลือกว่าจะใช้ชีวิตแบบ “จด” ทะเบียนสมรส หรืออยู่กันเอง ขณะที่คนรักเพศเดียวกันยังไม่มีโอกาสเลือก มาดูว่า การจดทะเบียนสมรสไม่ได้ ทำให้ขาดสิทธิเรื่องใดบ้าง