เลือกตั้ง 62: พรรคการเมืองทยอยเปิดตัว ‘ว่าที่นายกฯ’
อ่าน

เลือกตั้ง 62: พรรคการเมืองทยอยเปิดตัว ‘ว่าที่นายกฯ’

ปัจจุบัน พรรคการเมืองอย่างน้อย 9 พรรคที่เปิดเผยรายชื่อนายกฯ ที่พรรคจะเสนอ แต่ทว่า พรรคการเมืองเหล่านี้ยังมีเงื่อนไขอีกอย่างน้อย 3 ข้อ ที่ต้องจัดการให้ได้ ถึงจะมีสิทธิเป็นพรรคที่จัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ
สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ.มาตรฐานจริยธรรม ตั้งมาตรฐานให้ข้าราชการกำกับกันเอง
อ่าน

สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ.มาตรฐานจริยธรรม ตั้งมาตรฐานให้ข้าราชการกำกับกันเอง

สนช. มีมติเห็นชอบ 'ร่าง พ.ร.บ.มาตรฐานจริยธรรม' โดยร่างกฎหมายดังกล่าวสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญที่กำหนดให้รัฐต้องจัดให้มีมาตรฐานจริยธรรม และเพื่อให้ประมวลจริยธรรมเป็นมาตรฐานเดียวกันจึงต้องมีการออกกฎหมายนี้เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์การจัดทำ กระบวนการรักษาจริยธรรม 
เลือกตั้ง 62: ‘พรรคพลังประชารัฐ’ ตัวแปรในการสืบทอดอำนาจ คสช.
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ‘พรรคพลังประชารัฐ’ ตัวแปรในการสืบทอดอำนาจ คสช.

ปฏิเสธไม่ได้ว่า การเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 เป็นช่วงหัวเลี้ยงหัวต่อของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) หลังอยู่ในอำนาจมานานกว่า 4 ปี ทั้งนี้ ภายใต้รัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งที่ คสช. เขียนขึ้น เปิดช่องให้คสช. ไม่ลงจากอำนาจไปง่ายๆ โดยพรรคการเมืองที่จะเป็นปัจจัยหลักในการอยู่ในอำนาจต่อของ คสช. ก็คือ 'พรรคพลังประชารัฐ'
สำรวจ ‘ห้าเงื่อนไข’ กำหนดวันเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย
อ่าน

สำรวจ ‘ห้าเงื่อนไข’ กำหนดวันเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย

ที่ผ่านมา คสช. เลื่อนการเลือกตั้งมาแล้วอย่างน้อย 5 ครั้ง  วันเลือกตั้งวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2562 ที่คสช.เคยประกาศไว้ก็ดูเหมือนว่าจะถูกขยายออกไปอีก หลังมีการประกาศเกี่ยวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกออกมา แต่วันเลือกตั้งยังต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญปี 2560 และกฎหมายเลือกตั้งที่กำหนดเงื่อนไขวันเลือกตั้งไว้อย่างน้อย 5 ข้อด้วยกัน  
เลือกตั้ง 62: ปัจจัยที่ทำให้การเลื่อนเลือกตั้งครั้งที่ห้าไม่ง่ายสำหรับ คสช.
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ปัจจัยที่ทำให้การเลื่อนเลือกตั้งครั้งที่ห้าไม่ง่ายสำหรับ คสช.

วันเลือกตั้งที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) กำหนดไว้ว่า เป็นวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2562 มีแนวโน้มจะถูกเลื่อนออกไปอีกเป็นครั้งที่ 5 แต่การเลื่อนเลือกตั้งครั้งนี้ของ คสช. อาจไม่ง่ายเหมือนสี่ครั้งก่อนหน้านี้ เพราะในจังหวะนี้ต้องเจอกับเงื่อนไขและแรงกดดันต่างๆ ที่ไม่เคยเจอมาก่อน
สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนประชาชนลงชื่อกล่าวหา ป.ป.ช.
อ่าน

สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนประชาชนลงชื่อกล่าวหา ป.ป.ช.

สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันลงชื่อ 20,000 รายชื่อ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 236 และ 237 กล่าวหาและดำเนินการเอาผิด ป.ป.ช. กรณีตรวจสอบทรัพย์สิน พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ
‘สามทางเลือก’ เลือกตั้งไม่กระทบพระราชพิธีแต่เสี่ยงล้มเลือกตั้ง
อ่าน

‘สามทางเลือก’ เลือกตั้งไม่กระทบพระราชพิธีแต่เสี่ยงล้มเลือกตั้ง

ด้วยเงื่อนปมว่าต้องจัดการเลือกตั้งให้แล้วเสร็จภายใน 150 วัน ประกอบกับความต้องการของรัฐบาลที่ไม่ได้ต้องการให้การเลือกตั้งทับซ้อนกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทำให้ทางเลือกของการจัดการเลือกตั้งมีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทาง คือ ไม่เลื่อนแต่ทำให้เสร็จสิ้นเร็วขึ้น หรือ แก้รัฐธรรมนูญ หรือ เลื่อนนิดหน่อยแต่แบกความเสี่ยงล้มเลือกตั้ง
เลือกตั้ง 62: ข้อจำกัดด้านอายุของผู้แทนปวงชนชาวไทย ในรัฐสภา
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ข้อจำกัดด้านอายุของผู้แทนปวงชนชาวไทย ในรัฐสภา

จากกระแสการเมืองของคนรุ่นใหม่สำหรับสนามการเลือกตั้งที่จะถึงในปี 2562 และการเปิดตัวทีมงาน "คนรุ่นใหม่" หรือผู้สมัครอายุน้อยๆ ของพรรคการเมืองต่างๆ ที่น่าจับตามอง ไอลอว์ชวนดูข้อจำกัดด้านอายุของนักการเมืองตามรัฐธรรมนูญไทย จากสมัยก่อนจนถึงสมัยนี้
อภินิหารยุคทหาร แก้กฎหมายง่ายๆ สไตล์ คสช.
อ่าน

อภินิหารยุคทหาร แก้กฎหมายง่ายๆ สไตล์ คสช.

ในยุค คสช. กระบวนการออกกฎหมายที่ไร้การตรวจสอบ ส่งผลให้กฎหมายจำนวนหนึ่งผ่านไปแล้วต้องมีการกลับมาแก้ไขใหม่ โดยอาศัยอำนาจ ม. 44 ในการออกคำสั่งหัวหน้า คสช. หรือการส่งต่อให้ สนช. แก้ไขรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายต่างๆ ที่ผ่านมามีอย่างน้อย 6 ครั้งที่ คสช. และ สนช. พยายามแก้ไขกฎหมายที่ตัวเองออก 
7 เรื่องจริง ที่ “ประเทศกูมี”
อ่าน

7 เรื่องจริง ที่ “ประเทศกูมี”

เพลง ประเทศกูมี ถูกเผยแพร่ในโลกออนไลน์และมีการพูดถึงอย่างมากจนผู้มีอำนาจเตรียมดำเนินคดี เนื้อหาเพลงว่าด้วยการนำข้อเท็จจริงของสังคมการเมืองไทยร่วมสมัยมาร้อยเรียงเป็นบทเพลง โดยขับร้องออกมาในสไตล์ Rap กล่าวได้ว่าเพลง ประเทศกูมีนั้นเปิดบาดแผลของสังคมไทยที่พยายามซุกซ่อนมานานกว่าสี่ปี ชวนอ่าน 7 เรื่องจริงของประเทศกูมี