จับกระแส “แก้รัฐธรรมนูญ” หลัง “คสช. 2” แถลงนโยบาย
อ่าน

จับกระแส “แก้รัฐธรรมนูญ” หลัง “คสช. 2” แถลงนโยบาย

การแก้ไขรัฐธรรมนูญนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล “คสช.2” และฝ่ายค้านที่ชูนโยบายแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย จุดร่วมสำคัญของสภาในอนาคต
มองบทเรียนหลังเลือกตั้ง ‘ความบิดเบี้ยวบนความตั้งใจ’
อ่าน

มองบทเรียนหลังเลือกตั้ง ‘ความบิดเบี้ยวบนความตั้งใจ’

วาระรำลึกถึง ศาสตราจารย์ไพโรจน์ ชัยนาม ครั้งที่ 9 คณะคณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ จัดงานเสวนาหัวข้อบทเรียนการเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับปี 60
ส.ว. เหล่าทัพ: ควบตำแหน่งข้าราชการประจำ แถมรับเงินได้หลายทาง
อ่าน

ส.ว. เหล่าทัพ: ควบตำแหน่งข้าราชการประจำ แถมรับเงินได้หลายทาง

รัฐธรรมนูญ 60 ส.ว.ไม่สามารถเป็นข้าราชการได้ แต่ในบทเฉพาะกาลกำหนดให้ในช่วงวาระเริ่มแรก ข้าราชการทหาร สามารถดำรงตำแหน่ง ส.ว. ได้
5 ปี คสช.: จาก “ขอเวลาอีกไม่นาน” สู่การสืบทอดอำนาจผ่านรัฐธรรมนูญ
อ่าน

5 ปี คสช.: จาก “ขอเวลาอีกไม่นาน” สู่การสืบทอดอำนาจผ่านรัฐธรรมนูญ

จนเวลาล่วงเลยเข้าปีที่ 5 ของคณะรัฐประหา คสช. พยายามวางรากฐานอำนาจของตัวเองให้แน่นหนา ผ่านการกระจายตัวไปอยู่ในกลไกต่างๆ ของรัฐธรรมนูญ
ประวัติศาสตร์รัฐธรรมนูญ’21 ต้นแบบกติกาที่ให้อำนาจ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกฯ
อ่าน

ประวัติศาสตร์รัฐธรรมนูญ’21 ต้นแบบกติกาที่ให้อำนาจ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกฯ

การให้ ส.ว. มาจากการแต่งตั้งเลือกนายกฯ ไม่ได้เกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ 2560 แต่เคยใช้ในรัฐธรรมนูญ 2521 ที่มีชัย ฤชุพันธก็ช่วยร่างด้วย
4 ข้อควรรู้ ส.ว. แต่งตั้ง
อ่าน

4 ข้อควรรู้ ส.ว. แต่งตั้ง

รายชื่อ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จำนวน 250 คน ประกาศอย่างเป็นทางการแล้ว มีคนหน้าซ้ำ เคยรับตำแหน่งในยุค คสช. ได้รับแต่งตั้งเป็น ส.ว.157 คน
ส.ว.แต่งตั้ง: อาชีพไหนมีโอกาสได้รับการแต่งตั้ง คสช. มากที่สุด
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: อาชีพไหนมีโอกาสได้รับการแต่งตั้ง คสช. มากที่สุด

ภายในสามวันหลังประกาศผลเลือกตั้ง ส.ส.  คสช. ต้องประกาศรายชื่อ ส.ว. ชุดแรก ตามรัฐธรรมนูญปี 2560 และด้วยความที่กระบวนการคัดเลือก ส.ว. ถูกรวมศูนย์ไว้ที่คสช. จึงเกิดคำถามต่อไปว่า อาชีพไหนมีโอกาสได้รับการแต่งตั้ง คสช. มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบจากการแต่งตั้งคนในยุคคสช. ที่ผ่านมา
“มีส่วนร่วมได้เท่าที่เขากำหนด” บทสรุปการมีส่วนร่วมยุคคสช.
อ่าน

“มีส่วนร่วมได้เท่าที่เขากำหนด” บทสรุปการมีส่วนร่วมยุคคสช.

ตลอดเกือบ 5 ปี ที่ประเทศต้องอยู่ภายใต้การปกครองของคสช. ดูเหมือนขอบเขตของการมีส่วนร่วมของประชาชนในมิติต่างๆ จะดูแคบลง เพราะ คสช. ต้องการจะผูกขาดอำนาจในการออกกฎหมายและนโยบาย ในขณะเดียวกันก็เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้เท่าที่ คสช. กำหนด หากล้ำเส้นมากไปกว่านั้น อำนาจรัฐจะเข้ามาจัดการกับประชาชนที่ไม่ยอมเชื่อฟัง
9 เหตุผลที่ สนช. ควรหยุดพิจารณากฎหมายได้แล้ว
อ่าน

9 เหตุผลที่ สนช. ควรหยุดพิจารณากฎหมายได้แล้ว

เหลือเวลาอีก 24 วัน จะถึงวันเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 แต่ทว่า สนช. สภาแต่งตั้งของ คสช. ยังคงปฏิบัติหน้าที่อย่างแข็งขันในการเห็นชอบกฎหมาย ในขณะที่ภาคประชาชนเรียกร้องให้ สนช. ยุติการพิจารณากฎหมายเพื่อรอให้มีสภาที่มาจากการเลือกตั้ง รวมถึงรอให้บรรยากาศทางกาศเมืองอยู่ในสภาวะปกติเสียก่อน
ส.ว.แต่งตั้ง: ย้อนดูประวัติ 6 ผู้นำเหล่าทัพที่ได้เป็น ส.ว.แต่งตั้งโดยอัตโนมัติ
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ย้อนดูประวัติ 6 ผู้นำเหล่าทัพที่ได้เป็น ส.ว.แต่งตั้งโดยอัตโนมัติ

รัฐธรรมนูญปี 2560 กำหนดให้วุฒิสภา (ส.ว.) มาจากการเสนอชื่อโดยคสช. จำนวน 250 คน แต่มีจำนวน 6 คนในนั้น ที่เป็นข้าราชการประจำซึ่งคสช. เจาะจงไว้เป็นพิเศษ ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการเรือ ผู้บัญชาการอากาศ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ