จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”
อ่าน

จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”

แม้ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้งที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นผู้เสนอจะคล้ายคลึงกับระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญ 2540 แต่ความแตกต่างคือไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของพรรคที่จะได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ การไม่กำหนดเกณฑ์ขึ้นต่ำนี้จะทำให้พรรคขนาดเล็กมีโอกาสเข้าสู่สภามากขึ้นแต่ก็จะเกิด “เบี้ยหัวแตก”
7 ปี แห่งความถดถอย: ส.ว.ของคสช. ขวางการเปลี่ยนแปลง-ถ่วงแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย: ส.ว.ของคสช. ขวางการเปลี่ยนแปลง-ถ่วงแก้รัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญ 2560 เป็นรัฐธรรมนูญที่คนของคสช. เป็นคนร่าง เต็มไปด้วยกลไกสืบทอดอำนาจอย่างเข้มข้นอีกทั้ง หนทางในการจะออกจากวังวนอำนาจของคสช. ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ก็เต็มไปด้วยอุปสรรค
ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ

ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ กำหนดว่าการผ่านประชามติร่างรัฐธรรมนูญจะต้องได้เสียงข้างมากสองชั้น ขณะที่หากเป็นประชามติในประเด็นอื่นๆ กำหนดให้ใช้เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติ ซึ่งการกำหนดเช่นนี้มีความเหมือนและต่างจากกฎหมายประชามติในอดีต
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ
อ่าน

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ ไม่ได้ห้ามมิให้บุคคลฟ้องพระมหากษัตริย์ ดังที่ปรากฏใน "มาตรา 6" รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเพียงอย่างเดียว แต่มีหลักการอื่นที่กำกับควบคุมพระราชอำนาจประกอบกันด้วย คือ หลักการที่ว่า กษัตริย์ไม่มีพระราชอำนาจกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง ต้องมีผู้ลงนามรับสนอง
ฝ่ายค้าน-คณะก้าวหน้า-ประชาชน เห็นพ้องตั้ง สสร. ร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ฝ่ายค้าน-คณะก้าวหน้า-ประชาชน เห็นพ้องตั้ง สสร. ร่างรัฐธรรมนูญใหม่

การออกมาชุมนุมอย่างต่อเนื่องของกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ที่มาพร้อมข้อเรียกร้องให้มีการแก้รัฐธรรมนูญ ได้ส่งผลให้ทั้งรัฐสภาและรัฐบาลต้องออกมาขยับเพื่อตอบสนองกระแสดังกล่าว แต่ทว่าจากข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญเท่าที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นของพรรคร่วมฝ่ายค้าน คณะก้าวหน้าหรือพรรคก้าวไกล รวมถึงร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน จะพบว่า แต่ละฝ่ายมีทั้งจุดร่วมและจุดต่างอยู่หลายประการ
88 ปี ประชาธิปไตยไทย: กฎหมาย นิติรัฐ ในทัศนะของวรเจตน์ ภาคีรัตน์
อ่าน

88 ปี ประชาธิปไตยไทย: กฎหมาย นิติรัฐ ในทัศนะของวรเจตน์ ภาคีรัตน์

24 มิถุนายน 2563 รายการ “The Politics 88 ปี ประชาธิปไตยไทย” ได้ถ่ายทอดการสนทนากับศาสตราจารย์ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยบทสนทนามุ่งเน้นไปถึงหลักนิติรัฐที่วางรากฐานมาจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แนวคิดทางกฎหมาย และประชาธิปไตยในประเทศไทย
ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.
อ่าน

ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.

24 มิถุนายน 2563 เวลา 10.30 น. ภาคประชาชนนำโดยกลุ่ม ครช. ได้จัดกิจกรรม “ทวงคืนมรดกคณะราษฎร ทวงคืนสัญญารัฐธรรมนูญประชาชน” ณ บริเวณหน้าอาคารรัฐสภา เพื่อยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าในการแก้รัฐธรรมนูญต่อ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิแรงงานอ่อนแอ ไม่ประกันค่าแรงขั้นต่ำเท่ากันทั่วประเทศ
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิแรงงานอ่อนแอ ไม่ประกันค่าแรงขั้นต่ำเท่ากันทั่วประเทศ

ผู้ใช้แรงงานซึ่งเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศย่อมได้รับการคุ้มครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้รัฐธรรมนูญ 2560 ใช้ข้อความว่า ให้แรงงานได้รับค่าแรงที่เหมาะสมแก่การดำรงชีพ
เลือกตั้ง 5 ครั้งใช้ 4 ระบบ เปรียบเทียบระบบเลือกตั้ง 2540 ถึงปัจจุบัน
อ่าน

เลือกตั้ง 5 ครั้งใช้ 4 ระบบ เปรียบเทียบระบบเลือกตั้ง 2540 ถึงปัจจุบัน

ในระยะเวลา 20 ปี นอกจากจะมีรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับแล้ว ยังมีระบบเลือกตั้งถึง 4 แบบ จัดการเลือกตั้งที่นับผลจริงได้ 5 ครั้ง โดยเป็นพรรคการเมืองเดิมที่กวาดที่นั่ง ส.ส. ไปมากที่สุดทั้ง 5 รอบ ชวนดูเปรียบเทียบระบบเลือกตั้งทั้ง 4 แบบ และข้อดีข้อเสีย ก่อนจะต้องออกแบบกันใหม่อีกไม่รู้กี่รอบ