อ่าน

คุยกับ “รูน” มัทนา อัจจิมา สมาชิกกลุ่มคนอยากเลือกตั้ง: ทำไมการชุมนุมจึงเป็นหน้าที่

ไอลอว์จัดรายการ "คืนวันพุธ ปลดอาวุธคสช." โดยมีแขกรับเชิญเปฺ็น "รูน" มัทนา อัจจิมา คือ หนึ่งในผู้ต้องหาคดี MBK39 เพื่อมาพูดคุยถึงที่มาที่ไป ว่าอะไรคือความคิด ความเชื่อและแรงผลักดันที่ทำให้เธอออกไปชุมนุม รวมถึงผลกระทบหลังเป็นผู้ต้องหาทางการเมือง
กรธ.-สนช. เชื่อ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่มีความกล้าหาญและคุณธรรม
อ่าน

กรธ.-สนช. เชื่อ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่มีความกล้าหาญและคุณธรรม

ในวงเสวนา ตัวแทนจาก กรธ. และ สนช. มีความเชื่อมั่นในการทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญใหม่ เพราะมีการเพิ่มอำนาจ และการกำหนดที่มาและคุณสมบัติให้เข้มข้นยิ่งขึ้น ส่วนนักวิชาการชี้ว่า ประเด็นการเลือกเซ็ตซีโร่บางองค์กรจะทำให้ถูกครหา และการเขียนคุณสมบัติว่าต้องซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์อาจจะทำให้ตกเป็นเครื่องมือทางการเมือง
อ่าน

คุณสมบัติสมาชิกพรรคต้องมีอะไรบ้าง?

พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ ทำให้การที่ประชาชนเข้ามาเป็นสมาชิกพรรคการเมืองมีความสำคัญมาก เนื่องจาก สมาชิกพรรคการเมืองมีภารกิจต่อพรรคการเมืองหลายอย่าง เช่น เข้าร่วมประชุมเพื่อตั้งพรรค จัดตั้งสาขาพรรค และลงคะแนนคัดเลือกผู้สมัครส.ส.ขั้นต้น (primary vote) เป็นต้น แต่ทว่าการจะเข้ามาสมัครเป็นสมาชิกพรรคก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะบุคคลที่จะเข้ามาสมัครเป็นสมาชิกพรรคจำเป็นจะต้องมีคุณสมบัติตามที่กำหนดด้วย
อ่าน

พรรคการเมืองประสานเสียง ล้างมรดกเผด็จการ-ไม่เอานายกฯ คนนอก

ตัวแทนพรรคการเมืองสี่พรรคประสานเสียงโชว์วิสัยทัศน์บนเวที The Move We Decide ก้าวที่เลือกได้ เนื่องในโอกาสครบรอบสี่ปีของ คสช. โดยคนจากทุกพรรคการเมืองยืนยันพร้อมกันว่า หลังการเลือกตั้งปีหน้า ต้องแก้กติกาล้างมรดกเผด็จการพร้อมยืนยันไม่เอานายกฯ คนนอก
อ่าน

เครื่องมือตามรัฐธรรมนูญใหม่ รู้ไว้เพื่อใช้ให้เป็นประโยชน์ (กับประชาชน)

แม้ว่า รัฐธรรมนูญ 2560 จะมีปัญหาสารพัดโดยเฉพาะที่มาและการสืบทอดอำนาจของ คสช. แต่อย่างน้อยกลไกหลายข้อที่เขียนไว้ก็เป็นอาวุธทางกฎหมายที่ประชาชนสามารถหยิบยกขึ้นมาใช้เพื่อทวงถามสิทธิเสรีภาพ และเข้าไปมีส่วนร่วมกำหนดอนาคตทางการเมืองได้ หากประชาชนใช้งานได้ถูกช่องทางและถูกจังหวะ
อ่าน

เทคนิคใหม่ ‘ยื้อเลือกตั้ง’ ให้ศาลตีความกฎหมาย ส.ว.

แม้ คสช. จะพยายามหาเทคนิคใหม่ๆ มาเลื่อนเลือกตั้งไปแล้วถึง 4 ครั้ง ไล่ตั้งแต่ แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ 2557, คว่ำร่างรัฐธรรมนูญฉบับบวรศักดิ์แล้วร่างใหม่, แก้รัฐธรรมนูญชั่วคราวตามที่พระมหากษัตริย์พระราชทานข้อสังเกต จนมาถึงขยายเวลาบังคับใช้กฎหมาย ส.ส. ออกไปอีก 90 วัน และล่าสุดดูเหมือน คสช. จะพบเทคนิคใหม่ โดยให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความร่างกฎหมายลูก ส.ว.
อ่าน

เลือกตั้งเร็วสุด ก.ย. 61 ก็ยังได้ ถ้า คสช. ปลดล็อกพรรคการเมือง

การเลือกตั้งจากเดิมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างช้าสุดในเดือนพฤศจิกายน 2561 อาจถูกเลื่อนออกไปอีก 90 วัน เป็นเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม 2562 อย่างไรก็ตามตามโรดแมป คสช. เอง ก็เลือกตั้งก็สามารถเกิดอย่างเร็วในเดือนกันยายน 2561 หรือปลายปี 2561 ช่วงไหนก็ได้ เพียงแค่คสช.ปลดล็อกพรรคการเมือง
สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน
อ่าน

สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน

ยังไม่มีความแน่นอนว่าเดือนพฤศจิกายน 2561 จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เคยลั่นวาจาไว้หรือไม่ เพราะมีแนวโน้มว่าโรดแมปตามรัฐธรรมนูญ 2560 จะถูกเลื่อนไปอีกถึง 90 วัน หรือสามเดือน หากที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. เหตุที่โรดแมบจะถูกขยับออกไปอีก 90 วัน เพราะคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส.
คนจนจะไม่หมดไป ตราบใดที่ความยากจนทางอำนาจยังดำรงอยู่
อ่าน

คนจนจะไม่หมดไป ตราบใดที่ความยากจนทางอำนาจยังดำรงอยู่

ในงาน’รำลึก วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ : 10 ปีที่จากไป’ รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล บรรยายพิเศษในหัวข้อ “รัฐธรรมนูญใช่บุญทำ ความทุกข์ยากใช่กรรมแต่ง” และเรื่องที่สอง ‘รัฐธรรมนูญที่กินไม่ได้แต่ทำให้ท้องอิ่ม’ ชี้ รัฐธรรมนูญต้องเป็นความหวัง แต่ฉบับนี้คนไม่รู้สึกว่ามีหวัง
รัฐธรรมนูญ 2560 ให้เรามีส่วนร่วมเรื่องอะไรได้บ้าง
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ให้เรามีส่วนร่วมเรื่องอะไรได้บ้าง

รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน เขียนคำว่า "มีส่วนร่วม" ไว้ถึง 22 ครั้ง รวมทั้งบังคับใช้รัฐต้องรับฟังประชาชนและให้มีส่วนร่วมด้วยในหลายประเด้น ในความเป็นจริงประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังไม่ค่อยรู้ว่า ตัวเองมีสิทธิที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในเรื่องใดบ้าง