คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี
อ่าน

คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี

คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาปมวาระการดำรงตำแหน่งวรวิทย์ กังศศิเทียม มีอายุครบ 70 ปี ตามรัฐธรรมนูญ 2550
เสวนา 5 ปีรัฐธรรมนูญ สิทธิเสรีภาพถดถอยใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์
อ่าน

เสวนา 5 ปีรัฐธรรมนูญ สิทธิเสรีภาพถดถอยใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์

6 เมษายน 2565 งานเสวนาในหัวข้อ “5 ปี รัฐธรรมนูญ 60 : สิทธิเสรีภาพที่หายไป ภายใต้โครงสร้างรัฐใหม่ที่รวมศูนย์”
เปิดความเหมือน-ต่าง ระบบเลือกตั้ง 40 vs 64
อ่าน

เปิดความเหมือน-ต่าง ระบบเลือกตั้ง 40 vs 64

10 กันยายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเห็นชอบร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ “แก้ระบบเลือกตั้ง” ให้กลับไปใช้บัตรสองใบ ซึ่งมีความ “คล้ายคลึง” กับระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2540 อย่างไรก็ตาม ทั้งสองระบบเลือกตั้งก็ไม่ได้เหมือนกันทั้งหมดเสียทีเดียว แต่มีจุดต่างสำคัญอยู่ที่เกณฑ์คะแนนขั้นต่ำที่พรรคการเมืองจะได้ ส.ส. บัญชีรายชื่อ
เช็คเสียงโหวต #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม ใครโหวตอะไรกันบ้าง?
อ่าน

เช็คเสียงโหวต #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม ใครโหวตอะไรกันบ้าง?

การลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ ครั้งนี้ เห็นชอบ 472 เสียง ไม่เห็นชอบ 33 งดออกเสียง 187 เสียง และยังได้รับเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ถึง 149 เสียง นับว่าเป็นปรากฎการณ์ "พลิกโผ" ที่หลายฝ่ายคาดกันว่าร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ จะถูกคว่ำด้วยเสียงของส.ว.
จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”
อ่าน

จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”

แม้ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้งที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นผู้เสนอจะคล้ายคลึงกับระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญ 2540 แต่ความแตกต่างคือไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของพรรคที่จะได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ การไม่กำหนดเกณฑ์ขึ้นต่ำนี้จะทำให้พรรคขนาดเล็กมีโอกาสเข้าสู่สภามากขึ้นแต่ก็จะเกิด “เบี้ยหัวแตก”
เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล
อ่าน

เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล

24 สิงหาคม 2564 การแก้ไขรัฐธรรมนูญว่าด้วยระบบเลือกตั้งใกล้จะเข้าสู่การพิจารณาเห็นชอบในวาระที่สอง ซึ่งเป็นการพิจารณาให้ความเห็นร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญแบบทีละมาตรา และเมื่อรัฐสภาพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระสองแล้วเสร็จให้รอไว้ 15 วัน จากนั้นถึงพิจารณร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระที่สามต่อได้ ทั้งนี้ ถ้าหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมรัฐสภา ก็ถือได้ว่าเป็นความสำเร็จครั้งแรกของรัฐสภาในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ หลังจากถูกคว่ำจากวุฒิสภา และถูกเตะถ่วงจากฟากรัฐบาลอยู่หลายรอบ
“ส่วนราชการในพระองค์” : คสช. สร้างหน่วยงานพิเศษที่ตรวจสอบไม่ได้ ทำลายระบอบประชาธิปไตยฯ
อ่าน

“ส่วนราชการในพระองค์” : คสช. สร้างหน่วยงานพิเศษที่ตรวจสอบไม่ได้ ทำลายระบอบประชาธิปไตยฯ

ทำความรู้จักกับ “ส่วนราชการในพระองค์” องค์กรที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ถือกำเนิดจากกฎหมายสามฉบับที่ออกในยุค คสช. ถึงแม้จะรับงบประมาณจากรัฐ แต่ไม่ใช่ส่วนราชการ ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ระบบกฎหมายอื่นเข้าไปตรวจสอบไม่ได้
เปิดชื่อ กมธ. #แก้รัฐธรรมนูญ นั่งหลายชุด แก้หลายรอบ แต่รัฐธรรมนูญไม่เคยผ่าน
อ่าน

เปิดชื่อ กมธ. #แก้รัฐธรรมนูญ นั่งหลายชุด แก้หลายรอบ แต่รัฐธรรมนูญไม่เคยผ่าน

เปิดชื่อกมธ. 45 คน พิจารณาร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ เรื่องระบบเลือกตั้ง หลายคน “หน้าซ้ำ” กับกมธ. #แก้รัฐธรรมนูญ ครั้งก่อน ที่ถูกคว่ำไป ยิ่งไปกว่านั้น มีสมาชิกรัฐสภาหลายคนที่เป็นกมธ. #แก้รัฐธรรมนูญ ทั้งสองชุด แถมเป็นกมธ. ถ่วงเวลา #แก้รัฐธรรมนูญ อีกด้วย
ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”
อ่าน

ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”

จากการตรวจดูผลการลงมติแก้รัฐธรรมนูญ พบว่า การลงมติของ ส.ว. เป็นไปอย่าง “ไม่สนโลก” ไม่ว่าจะเป็นการลงมติเพื่อขัดขวางเสียงข้างมากของสภาผู้แทนฯ การขาดประชุมของ ส.ว. ที่ควบตำแหน่งผู้นำเหล่าทัพ หรือ การเปลี่ยนจุดยืนของ ส.ว. ที่เคยลงมติปิดสวิตซ์ ส.ว.
ผ่านแค่ร่างเดียว! #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสอง รับระบบ 2540 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์เสนอ
อ่าน

ผ่านแค่ร่างเดียว! #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสอง รับระบบ 2540 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์เสนอ

ผ่านแค่ร่างเดียว! ที่ประชุมสภาลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ วาระที่ 1 รับแค่ร่างเดียว คือ การเสนอแก้ไขระบบเลือกตั้งไปใช้คล้ายระบบ 2540 ซึ่งเสนอโดยพรรคประชาธิปัตย์ ส่วนร่างที่เสนอให้ยกเลิกอำนาจ ส.ว. เลือกนายกฯ ไม่ผ่านเพราะเสียงของ ส.ว. ไม่เพียงพอ