เลือกตั้ง 66: สำรวจสนามเลือกตั้ง ส.ส. เก่าย้ายพรรคไปไหนบ้าง?
อ่าน

เลือกตั้ง 66: สำรวจสนามเลือกตั้ง ส.ส. เก่าย้ายพรรคไปไหนบ้าง?

142 คนคือ จำนวน ส.ส. ที่ย้ายสังกัดพรรคใหม่ในการเลือกตั้ง 2566 และยังมีอีกห้าคนที่ไม่ได้ย้ายพรรคแต่มีตัวแทนหรือคนในครอบครัวไปลงในพรรคใหม่
ทบทวน 3 ข้อเรียกร้องตะวันแบม ทำอย่างไร?
อ่าน

ทบทวน 3 ข้อเรียกร้องตะวันแบม ทำอย่างไร?

ตะวันและแบม สองนักกิจกรรมรุ่นใหม่ถูกคุมขังในคดีมาตรา 112 จากการยื่นขอเพิกถอนประกันตัวเอง พร้อมข้อเรียกร้องสามข้อ ซึ่งไม่ใช่เรื่องใหม่ ชวนทบทวนข้อเรียกร้องว่าทำได้อย่างไร และใครเกี่ยวข้องบ้าง
เลือกตั้ง66: จัดตั้งรัฐบาล ขจัดขั้วอำนาจ คสช.เบ็ดเสร็จต้องซุปเปอร์แลนด์สไลด์
อ่าน

เลือกตั้ง66: จัดตั้งรัฐบาล ขจัดขั้วอำนาจ คสช.เบ็ดเสร็จต้องซุปเปอร์แลนด์สไลด์

ด้วยกติกาการเลือกนายกรัฐมนตรีที่ยังคงมีวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง 250 คน เข้ามามีส่วนร่วม ทำให้พรรคการเมืองที่จะเป็นแกนนำในการตั้งรัฐบาล ถ้าไม่มีเสียง ส.ว.แต่งตั้งยกมือสนับสนุนก็มีแนวโน้มจะตั้งรัฐบาลยากขึ้น หรือถ้าตั้งรัฐบาลโดยใช้เสียง ส.ส. อย่างเดียวก็จะทำให้เกิดรัฐบาลผสมหลายพรรค และมีโอกาสจัดตั้งรัฐบาลข้ามขั้วสูง
เลือกตั้ง 66: ประชาชนเคยเลือกพรรคไหน ถึงได้นายกฯ ชื่อ พล.อ.ประยุทธ์
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ประชาชนเคยเลือกพรรคไหน ถึงได้นายกฯ ชื่อ พล.อ.ประยุทธ์

ในการเลือกตั้ง ปี 2562 ปัจจัยที่ทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรี มีอย่างน้อยสามประการ ได้แก่ การมี ส.ว. ที่มาจากคสช. สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ การมี ส.ส. สังกัดพรรคที่ให้การสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ โดยตรง อย่างพรรคพลังประชารัฐ และการมี ส.ส. สังกัดพรรคที่ให้การสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ โดยอ้อม หรือ ลงมติเลือก พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกฯ อย่างเช่น พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา และพรรคอื่นๆ อีกกว่า 15 พรรค  
รวมเทคนิค “ถ่วงเวลา” การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน
อ่าน

รวมเทคนิค “ถ่วงเวลา” การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน

ความยากของการแก้รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ไม่ได้จำกัดอยู่แค่มาตรา 256 เพราะในความเป็นจริง ตัว ส.ส. ฝ่ายรัฐบาล และ ส.ว. ที่มาจากรัฐบาล ก็เป็นส่วนหนึ่งของการถ่วงเวลาในการแก้รัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการร่างรัฐธรรมนูญใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งที่ผ่านมา มีการใช้เทคนิคเพื่อถ่วงเวลาการแก้รัฐธรรมนูญจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว. รวมกันอย่างน้อย 5 ครั้ง
ส.ส.-ประชาชน เริ่มก้าวแรก! เดินหน้าทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ส.ส.-ประชาชน เริ่มก้าวแรก! เดินหน้าทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่

3 พ.ย. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วยกับญัตติให้ทำประชามติ เพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เป็นไปตามกลไก พ.ร.บ.ประชามติฯ ซึ่งให้อำนาจ “รัฐสภา” เสนอทำประชามติได้ ขั้นตอนหลังจากนี้ วุฒิสภาจะเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบญัตติดังกล่าวอีกครั้ง 
เลือกตั้ง66.: ทำไม กกต. เคาะเลือกตั้ง 7 พ.ค. 66 ตัวเลขนี้มายังไง?
อ่าน

เลือกตั้ง66.: ทำไม กกต. เคาะเลือกตั้ง 7 พ.ค. 66 ตัวเลขนี้มายังไง?

ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 การกำหนดการเลือกตั้งว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไร และจะเลือกตั้งช้าหรือจะเร็วเกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขสองประการ คือ กรณีครบวาระสภาผู้แทนราษฎร และกรณีนายกรัฐมนตรียุบสภาผู้แทนราษฎร โดยทั้งสองเงื่อนไขแตกต่างกันดังนี้
อนาคตของประยุทธ์หลังคำตัดสินศาลรัฐธรรมนูญ “แคนดิเดตนายกฯ หรือองคมนตรี ???”
อ่าน

อนาคตของประยุทธ์หลังคำตัดสินศาลรัฐธรรมนูญ “แคนดิเดตนายกฯ หรือองคมนตรี ???”

วาระที่เหลือของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่เริ่มจากปี 2560 ทำให้อนาคตทางการเมืองของพลเอกประยุทธ์เหลือสั้นลงประมาณ 2 ปี 6 เดือน เท่านั้น ซึ่งอาจส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมืองในการเลือกตั้งปี 2566 ว่าพลเอกประยุทธ์ยังอยากจะเป็นแคนดิเดตนายกฯ ต่อไปหรือไม่ หรือจะยุติบทบาททางการเมืองแล้วเบนเข็มสู่เส้นทางใหม่ เป็นองคมนตรี
เปิดเหตุผล ประยุทธ์ครบ 8 ปีจะรอดหรือไม่รอด
อ่าน

เปิดเหตุผล ประยุทธ์ครบ 8 ปีจะรอดหรือไม่รอด

30 ก.ย.2565 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคดีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกฯ ครบ 8 ปีตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้วหรือไม่ ที่ผ่านมามีการอธิบายว่าทำไมพลเอกประยุทธ์ถึงรอดหรือไม่รอดจากการเป็นนายกฯ และนี่คือเหตุผลว่าทำไมพลเอกประยุทธ์จะรอดหรือไม่รอดจากคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ
8 ปี ประยุทธ์: สำรวจสายธารอำนาจของระบอบคสช.
อ่าน

8 ปี ประยุทธ์: สำรวจสายธารอำนาจของระบอบคสช.

สิ่งสำคัญที่ต้องพูดถึงเกี่ยวกับการดำรงอยู่ในอำนาจอย่างยาวนานของ พล.อ.ประยุทธ์ ก็คือ การออกแบบกลไกทางอำนาจผ่านรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ปี 2557 มาจนถึงรัฐธรรมนูญ ปี 2560 จนทำให้คสช. ที่ทำการรัฐประหารยึดอำนาจสามารถดำรงอยู่ได้ อีกทั้ง ยังเข้าไปยึดกุมอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการได้อย่างค่อนข้างเบ็ดเสร็จ ผ่านสายธารอำนาจที่เรียกกันว่า “แม่น้ำห้าสาย”