เปิดเหตุผลตุลาการเสียงข้างน้อย เมื่อยุบพรรคแล้วให้ตัดสิทธิตลอดชีวิต
อ่าน

เปิดเหตุผลตุลาการเสียงข้างน้อย เมื่อยุบพรรคแล้วให้ตัดสิทธิตลอดชีวิต

การที่กฎหมายไม่กำหนดระยะเวลาให้ชัดเจนว่า จะตัดสิทธิเลือกตั้งได้นานเท่าใด ทำให้เกิดการตีความ จนกระทั่งกรรมการบริหารพรรคการเมืองถูกเพิกถอนสิทธิรับสมัครเลือกตั้งตลอดชีวิตก็เป็นได้
No Penalty of Dissolving the Party for “Receiving the Donation Exceeding 10 Million”
อ่าน

No Penalty of Dissolving the Party for “Receiving the Donation Exceeding 10 Million”

The arguments against Constitutional Court’s decision to dissolve the Future Forward Party: the ‘Receiving the Donation Exceeding 10 Million’ under Section 66 of political parties law does not contain the punishment of party dissolvement and cannot be linked with Section 72.
วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย
อ่าน

วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย

การละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงห้ามวิจารณ์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำด้วยความไม่สุจริตและใช้ถ้อยคำหรือความหมายที่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้ายอีกด้วย ซึ่งมีบทลงโทษสูงสุดคือ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
“รับบริจาคเกิน 10 ล้าน” ไม่มีโทษยุบพรรค
อ่าน

“รับบริจาคเกิน 10 ล้าน” ไม่มีโทษยุบพรรค

ความเห็นแย้งต่อคำวินิจฉัยยุบพรรคอนาคตใหม่ของศาลรัฐธรรมนูญ การรับบริจาคเกิน 10 ล้านตามมาตรา 66 ของ พ.ร.ป.ว่าด้วยพรรคการเมือง ไม่มีโทษฐานยุบพรรค และไม่สามารถนำมาตรา 72 มาตีความใช้คู่กันได้ ผิดเจตนารมณ์
เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน พบ “ประธานศาลรัฐธรรมนูญ” วินิจฉัยเป็นคุณกับ คสช.
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน พบ “ประธานศาลรัฐธรรมนูญ” วินิจฉัยเป็นคุณกับ คสช.

ท่ามกลางกระแสความเห็นที่แตกต่างในข้อเท็จจริงของคดียุบพรรคอนาคตใหม่ จากกรณีกู้เงินธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ว่าศาลสามารถตัดสินอย่างไรได้บ้าง อยากชวนทุกคนสำรวจที่มาและความคิดเห็นของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคนในการวินิจฉัยคดีทางการเมือง เพื่อให้เห็นทิศทางของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ
นักกฎหมายแนะเพิ่มระบบตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ ยันประชาชนใหญ่สุด วิจารณ์ศาลได้
อ่าน

นักกฎหมายแนะเพิ่มระบบตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ ยันประชาชนใหญ่สุด วิจารณ์ศาลได้

19 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ห้องประชุมคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ท่าพระจันทร์ มีวงเสวนาเรื่องประชาชนอยู่ตรงไหน เมื่อตุลาการเป็นใหญ่ในแผ่นดิน วิทยากรประกอบด้วย ผศ.ธีระ สุธีวรางกูร คณะนิติศาสตร์ มธ., ดร.เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ, รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาฯ มธ. และสัณหวรรณ สีสด จากคณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล
เปิดข้อกฎหมายคดียุบพรรคอนาคตใหม่: เงินกู้ไม่ใช่รายได้และกฎหมายไม่ได้ห้าม
อ่าน

เปิดข้อกฎหมายคดียุบพรรคอนาคตใหม่: เงินกู้ไม่ใช่รายได้และกฎหมายไม่ได้ห้าม

จากงานวิชาการและมุมมองของนักกฎหมายมีส่วนที่เห็นตรงกันว่า พรรคการเมืองไม่ได้มีสถานะเป็นองค์กรของรัฐ จึงต้องใช้หลักกฎหมายเอกชนกับพรรคการเมือง ซึ่งหมายความว่า ต้องใช้หลักการทำได้ทุกอย่างที่ไม่มีกฎหมายห้าม ในเมื่อไม่มีกฎหมายสั่งห้ามพรรคการเมืองกู้เงิน การกู้เงินก็ต้องสามารถกระทำได้ อีกทั้งในทางการเงินการบัญชี เงินกู้ไม่นับเป็นรายได้หรือเงินบริจาค แต่เป็นหนี้สินที่ต้องชำระคืน
21 มกราคม คดี “ล้มล้างการปกครองฯ” ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคดีไว้วินิจฉัยหรือไม่?
อ่าน

21 มกราคม คดี “ล้มล้างการปกครองฯ” ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจรับคดีไว้วินิจฉัยหรือไม่?

ในวันที่ 21 มกราคม 2563 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคำร้องขอให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ โดยอ้างว่า พรรคการเมืองนี้กระทําการอันอาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือที่เรียกชื่อเล่นว่า คดีอิลลูมินาติ แต่อย่างไรก็ดี คดีดังกล่าวมีประเด็นทางกฎหมายที่จำเป็นจะต้องวินิจฉัยเรื่องอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญก่อนว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจออกคำวินิจฉัยในประเด็นการสั่งยุบพรรคการเมืองได้หรือไม่
วงเสวนาชี้ ยุบพรรคการเมืองคือการทำลายเสียงประชาชน
อ่าน

วงเสวนาชี้ ยุบพรรคการเมืองคือการทำลายเสียงประชาชน

8 มกราคม 2563 ที่คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) มีวงเสวนาในหัวข้อพรรคการเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยที่ว่าด้วยความสำคัญของสถาบันพรรคการเมือง ปมปัญหาของรัฐธรรมนูญ และบทบาทขององค์กรที่ใช้อำนาจตุลาการ ซึ่งส่งผลต่ออนาคตประชาธิปไตยไทย