4 เหตุการณ์การเมืองสำคัญหลังยุบพรรคก้าวไกล
อ่าน

4 เหตุการณ์การเมืองสำคัญหลังยุบพรรคก้าวไกล

ศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคก้าวไกล ทำให้มี สส. จำนวน 143 คน ไร้สังกัดพรรค มี สส. หกคนที่สมาชิกภาพสิ้นสุดลง แบ่งเป็น สส. แบบบัญชีรายชื่อหกคน และ สส. แบบแบ่งเขตอีกหนึ่งคน นี่คือสี่เหตุการณ์สำคัญที่จะเกิดขึ้นหลังการยุบพรรคก้าวไกล
ยุบพรรค ก้าวไกล
อ่าน

ไทยตอบ UN ยื่นยุบก้าวไกลเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ย้ำ ม.112 มีโทษแรงเหมาะสมแล้ว

รัฐบาลไทยตอบกลับข้อกังวลสหประชาชาติ ยืนยันการยื่นยุบพรรคก้าวไกลเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ย้ำมาตรา 112 มีโทษรุนแรงเหมาะสมแล้ว
เลือกตั้ง 66: เปิดระเบียบใหม่ กกต. เร่งกระบวน “ยุบพรรค” ให้ทุกคดีจบได้ภายใน 67 วัน
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดระเบียบใหม่ กกต. เร่งกระบวน “ยุบพรรค” ให้ทุกคดีจบได้ภายใน 67 วัน

15 กุมภาพันธ์ 2566 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ออกระเบียบใหม่จำนวนสามฉบับ หนึ่งในนั้นคือ ระเบียบ กกต. ว่าด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานของนายทะเบียนพรรคการเมือง ซึ่งสาระสำคัญของระเบียบดังกล่าวคือ การเร่งรัดกระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง โดยกำหนดกรอบเวลาให้ไม่เกิน 67 วัน นับตั้งแต่วันที่รับเรื่องร้องเรียน
เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจเกี่ยวพันกับการเมือง จึงเกิดคำถามถึงความยึดโยงกับประชาชน รัฐธรรมนูญ 2560 ให้มีตุลาการเก้าคน แบ่งเป็นผู้พิพากษาห้าคน ผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการและสายราชการอย่างละสองคน ทั้งนี้ ที่มาของศาลรัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาตั้งแต่จัดตั้งครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ 2540 โดยสัดส่วนผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการลดลงจากห้าคนเหลือสองคนในรัฐธรรมนูญ 2560
เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด
อ่าน

เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด

จากที่เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศแต่งตั้ง นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ เป็นองคมนตรี มาดูกันว่าชีวิตของนุรักษ์ตั้งแต่ก่อนเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งได้เป็นองคมนตรี มีผลงานเด่นๆ อะไรบ้าง
ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตน 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่
อ่าน

ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตน 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่

หลังจากคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคอนาคตใหม่ออกมาแล้ว หลายคนคงสงสัยว่าตุลาการแต่ละคนให้ความเห็นว่าอย่างไร เราได้ชำแหละคำวินิจฉัยออกมาให้ทุกคนได้เข้าใจไปพร้อมๆ กัน
เปิดคำวินิจฉัย 2 ตุลาการเสียงข้างน้อย ไม่ยุบพรรคอนาคตใหม่
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัย 2 ตุลาการเสียงข้างน้อย ไม่ยุบพรรคอนาคตใหม่

เว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่คำวินิจฉัยของตุลาการแต่ละคน เรียกว่า 'คำวินิจฉัยส่วนตน' ซึ่งแต่ละคนจะอธิบายเหตุผลว่าผิดหรือไม่ผิดอย่างไร มีตุลาการ 2 เสียงที่ชี้ว่า อนาคตใหม่ไม่มีความผิดให้ต้องยุบพรรค ติดตามได้ในคำวินิจฉัยฉบับเต็มของ 2 ตุลาการเสียงข้างน้อย
เปิดเหตุผลตุลาการเสียงข้างน้อย เมื่อยุบพรรคแล้วให้ตัดสิทธิตลอดชีวิต
อ่าน

เปิดเหตุผลตุลาการเสียงข้างน้อย เมื่อยุบพรรคแล้วให้ตัดสิทธิตลอดชีวิต

การที่กฎหมายไม่กำหนดระยะเวลาให้ชัดเจนว่า จะตัดสิทธิเลือกตั้งได้นานเท่าใด ทำให้เกิดการตีความ จนกระทั่งกรรมการบริหารพรรคการเมืองถูกเพิกถอนสิทธิรับสมัครเลือกตั้งตลอดชีวิตก็เป็นได้