อ่าน

คุยกับ “รูน” มัทนา อัจจิมา สมาชิกกลุ่มคนอยากเลือกตั้ง: ทำไมการชุมนุมจึงเป็นหน้าที่

ไอลอว์จัดรายการ "คืนวันพุธ ปลดอาวุธคสช." โดยมีแขกรับเชิญเปฺ็น "รูน" มัทนา อัจจิมา คือ หนึ่งในผู้ต้องหาคดี MBK39 เพื่อมาพูดคุยถึงที่มาที่ไป ว่าอะไรคือความคิด ความเชื่อและแรงผลักดันที่ทำให้เธอออกไปชุมนุม รวมถึงผลกระทบหลังเป็นผู้ต้องหาทางการเมือง
“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.
อ่าน

“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ออกตามมาตรา 44 อย่างน้อย 4 ฉบับ ยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ไม่ให้ถูกตรวจสอบโดยศาลปกครอง ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย ถ้าได้กระทำไปโดยสุจริต อำนาจลักษณะนี้แทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วในยุค คสช.
สนช. ออกกฎหมายพลาดไม่เป็นไร ใช้ ม.44 แก้ตัวได้เสมอ
อ่าน

สนช. ออกกฎหมายพลาดไม่เป็นไร ใช้ ม.44 แก้ตัวได้เสมอ

สนช. เป็นสภาที่ออกกฎหมายกันอย่างรวดเร็วโดยไม่มีฝ่ายค้าน มีกฎหมายอย่างน้อยสองฉบับ คือ พ.ร.บ.ธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 และ พ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้ำฯ พ.ศ.2560 ที่เมื่อออกมาแล้วมีเสียงค้านมากมาย แต่ไม่เป็นไร เพราะ คสช. ใช้ 'มาตรา44' แก้ไขให้ภายหลังได้
ยุทธศาสตร์ชาติกับอนาคตประเทศไทย
อ่าน

ยุทธศาสตร์ชาติกับอนาคตประเทศไทย

กรรณิการ์ กิจติเวชกุล รองประธานกลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอ ว็อทช์) อภิปราย ‘ยุทธศาสตร์ชาติกับอนาคตประเทศไทย’ ในการประชุมวิชาการประจำปีสถาบันพระปกเกล้า ‘ประชาธิปไตยไทย: ความท้าทายใหม่ อุดมคติ สิ่งที่เป็นจริง' วันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2560
“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล
อ่าน

“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล

ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ไม่ได้มีแค่ "มาตรา44" ของ คสช. เท่านั้นที่เป็นอำนาจเบ็ดเสร็จ ยังมี "มาตรา17" ของจอมพลสฤษดิ์ จอมพลถนอม มี "มาตรา 27" ของพลเอกเกรียงศักดิ์ และอื่นๆ อีก แต่การใช้อำนาจนี้ส่วนใหญ่ในอดีตจะเป็นการตัดสินลงโทษบุคคล ต่างกับ คสช. ที่ใช้ออกกฎหมายและโยกย้ายตำแหน่ง
พ.ร.บ.เดินเรือฯ แก้ปัญหาแม่น้ำลำคลองแบบถอยหลัง “ลงคลอง”
อ่าน

พ.ร.บ.เดินเรือฯ แก้ปัญหาแม่น้ำลำคลองแบบถอยหลัง “ลงคลอง”

สนช.ผ่านพ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้ำไทยฯ และบังคับใช้ 23 ก.พ.2560 ก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้างต่อประชาชนและชุมชุนที่มีวิถีชีวิตทั้งทางทะเล และลำน้ำต่างๆ ทั่วประเทศ ปัญหาดังกล่าวส่งผลให้คสช.ต้องใช้ม. 44 โดยกำหนดให้ชะลอการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้บางมาตราออกไป 
รู้จัก ป.ย.ป. ทำหน้าที่ปฏิรูป ยุทธศาสตร์ชาติ และปรองดอง
อ่าน

รู้จัก ป.ย.ป. ทำหน้าที่ปฏิรูป ยุทธศาสตร์ชาติ และปรองดอง

ต้นเดือน ม.ค.2560 หัวหน้าคสช. ใช้อำนาจมาตรา 44 ประกาศคำสั่งคสช. 3/2560 เรื่อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง โดยรมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ปี 2560 จะเป็นปีของการปฏิรูปการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติใน 20 ปีและการสร้างความปรองดองต้องนำไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 
ล้อม-ตัดเน็ต-เรียก-จับ-ย้าย-ถอดยศ บทเรียนอำนาจเหนือกฎหมาย เมื่อใช้ ‘ม.44 บุกธรรมกาย’
อ่าน

ล้อม-ตัดเน็ต-เรียก-จับ-ย้าย-ถอดยศ บทเรียนอำนาจเหนือกฎหมาย เมื่อใช้ ‘ม.44 บุกธรรมกาย’

มาตรา 44 ที่รัฐนำมาใช้กรณีธรรมกายมีการกำหนดขอบเขตอำนาจให้แก่เจ้าหน้าที่อย่างกว้างขวางและเป็นที่สุด แต่ดูเหมือนว่า อำนาจพิเศษดังกล่าวจะไม่นำไปสู่ผลลัพธ์ที่หวัง การใช้มาตรา 44 ครั้งนี้ให้บทเรียนอย่างไรบ้าง?  
กุมภาพันธ์ 2560: ศาลฎีกาลดโทษสมยศ – ยกฟ้องสนธิคดี 112 – ระดมอำนาจพิเศษสลายการชุมนุมค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่
อ่าน

กุมภาพันธ์ 2560: ศาลฎีกาลดโทษสมยศ – ยกฟ้องสนธิคดี 112 – ระดมอำนาจพิเศษสลายการชุมนุมค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่

  [[wysiwyg_imageupload:622:]]   กุมภาพันธ์ 2560: ศาลฎีกาลดโทษสมยศ – ยกฟ้องสนธิคดี 112 – ระดมอำนาจพิเศษสลายการชุมนุมค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่
iLaw รวม 10 เรื่องเด่น ประจำปี 2558
อ่าน

iLaw รวม 10 เรื่องเด่น ประจำปี 2558

ปี 2558 มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จากการติดตามประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การจับกุมและดำเนินคดีทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกกฎหมายและออกนโยบาย ใกล้สิ้นปีไอลอว์จึงขอหยิบเรื่องราว 10 เรื่องที่ถือว่าโดดเด่นและน่าจดจำที่สุด ในสายตาและการทำงานของเราตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา ให้ได้หวนระลึกกันอีกครั้ง