10 เหตุผล ประชามติ’ 59 ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

10 เหตุผล ประชามติ’ 59 ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้รัฐธรรมนูญ

ถึงปี 2563 แล้วก็ยังมีคนที่ต้องการรักษาอำนาจให้ คสช.​ อ้างเหตุผลว่า รัฐธรรมนูญ 2560 "ผ่านประชามติมาแล้ว" และยืนยันที่จะไม่แก้ยอมให้แก้ไข ลองดูกันว่า ข้ออ้างนี้ไม่ถูกต้องอย่างไร
รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาล รธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาล รธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยแล้วว่า "มาตรา 61 วรรค 2" ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ "ไม่ขัดหรือแย้ง" ต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 มาตรา 4 ทั้งนี้ เอกสารชี้แจงเป็นเพียงการบอกมติของศาลรัฐธรรมนูญว่าขัดหรือไม่ แต่ไม่ได้ชี้แจงถึงเหตุผลโดยละเอียด ต้องรอดูเอกสารฉบับเต็ม
ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง
อ่าน

ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง

บรรยากาศของการลงประชามติยังเป็นไปอย่างเงียบเหงา เพราะมีเพียงภาครัฐเท่านั้นที่รณรงค์ได้เต็มตัว ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ที่มีบทบัญญัติที่คลุมเครือ และมีโทษที่รุนแรง อย่างแข็งขัน ทำให้การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญถูกกระชับพื้นที่เข้าไปทุกที
ทางสองแพร่งในมือศาล: “มาตรา 61 วรรค 2” ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ จะอยู่หรือจะไป
อ่าน

ทางสองแพร่งในมือศาล: “มาตรา 61 วรรค 2” ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ จะอยู่หรือจะไป

29 มิ.ย. 2559 คือวันที่ศาลนัดชี้ชะตา มาตรา 61 วรรค 2 ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ ว่าจะอยู่หรือจะไป ทั้งนี้ หากพิจารณาจากทิศทางคำวินิจฉัยที่ผ่านมา การจะดูว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับกฎหมายนั้นเป็นไปตามเงื่อนในการจำกัดสิทธิเสรีภาพหรือไม่ และเป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพ “เท่าที่จำเป็นและใช้บังคับเป็นการทั่วไป” หรือเปล่า
แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”
อ่าน

แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”

กลุ่มนักวิชาการและภาคประชาชนร่วมกันอ่านแถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้เสรีภาพ” เชื่อว่าประชามติร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 7 ส.ค. จะไม่สามารถดำเนินไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หากมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559 และประกาศ กกต. เมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2559 ยังคงอยู่ต่อไป
ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ

ไอลอว์ชี้แจง กรณีที่ผู้ตรวจการแถลงส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ หากศาลวินิจฉัยว่าขัดกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ผลที่จะตามมาก็คือ เฉพาะมาตรา 61 วรรคสอง จะใช้บังคับไม่ได้ เสมือนว่าเนื้อหาตามวรรคสองนี้ไม่เคยมีอยู่ และไม่เป็นเหตุให้เลื่อนประชามติ
ความเคลื่อนไหวก่อนผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ความเคลื่อนไหวก่อนผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ขัดรัฐธรรมนูญ

iLaw นำรายชื่อภาคประชาชน เอ็นจีโอ และนักวิชาการ จำนวน 107 รายชื่อ ยื่นต่อผู้ตรวจการแผ่นดินขอให้วินิจฉัยว่ามาตรา 61 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ล่าสุดที่ประชุมผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เตรียมยื่นให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
รวมหนังสือถึงผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่อง ขอให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
อ่าน

รวมหนังสือถึงผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่อง ขอให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญ

รายละเอียดหนังสือร้องเรียนผู้ตรวจการแผ่นดิน ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559  มาตรา 61 วรรคสองและวรรคสี่ ละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนและขัดต่อรัฐธรรมนูญ
พ.ร.บ.ประชามติ: ห้ามรณรงค์-โพสต์ปลุกระดม ติดคุก 10 ปี
อ่าน

พ.ร.บ.ประชามติ: ห้ามรณรงค์-โพสต์ปลุกระดม ติดคุก 10 ปี

คลอดเรียบร้อย สำหรับ พ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อรับมือกับเส้นทางสู่การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 7 ส.ค. 2559 พ.ร.บ.ฉบับนี้ สนช.แก้ไขไปจากเดิมพอสมควร เช่น การตัดไม่ให้มีการรณรงค์ร่างรัฐธรรมนูญ หรือการปรับเปลี่ยนบทลงโทษของความผิดบ้างประเภทใหม่ และยกเลิกการออกเสียงผ่านเครื่องลงคะแนน