อ่าน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 116 (ยุยงปลุกปั่น) เสรีภาพการแสดงออก จำคุกป่าน 2 ปี ม.116 และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปมเพจทะลุฟ้าโพสต์ชวนชุมนุม ‘ไล่ล่าทรราช’ มุ่งหน้าไปบ้านพักประยุทธ์ราบ 1พฤศจิกายน 22, 2023 22 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09.40 น. 0 0 0
อ่าน กกต. จับตาการเลือกตั้ง องค์กรอิสระ เลือกตั้ง 66 เลือกตั้ง’66: รวมความผิดปกติก่อนถึงวันจริง และความพยายามชี้แจงจาก กกต.พฤษภาคม 13, 2023 การเลือกตั้ง 2566 … 0 0 0
อ่าน บทความเสรีภาพอื่นๆ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสรีภาพการแสดงออก ไม่มีหมวดหมู่ พลิกโฉมโลกออนไลน์ เมื่อประกาศดีอีใหม่สร้างสวรรค์ “นักร้อง(เรียน)” แจ้งลบเนื้อหาธันวาคม 16, 2022 ประกาศดีอีฉบับใหม่จะทำให้การแสดงความคิดเห็นบนอินเทอร์เน็ตถูกปิดกั้นง่ายขึ้น เพราะตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม 2565 ใครก็ตามก็จะสามารถร้องเรียนไปยัง “ผู้ให้บริการ” และ “โซเชียลมีเดีย” เช่น เว็บบอร์ด เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ให้ลบเนื้อหาได้อย่างไม่ยาก และผู้ให้บริการถ้าอยากพ้นความรับผิดชอบต้องลบภายใน 24 ชั่วโมง 0 0 0
อ่าน มาตรา 112 (หมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ) เสรีภาพการแสดงออก รวมคดีมาตรา 112 ระลอกใหม่ ที่ศาล “ยกฟ้อง”พฤศจิกายน 17, 2022 ในการบังคับใช้ระลอกปี 2563-2565 นี้ ท่ามกลางความวุ่นวายของคดีที่พุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาจนทะลุหลักร้อย ประกอบกับความสับสนงุนงงของประชาชนว่าขอบเขตการคุ้มครองของตัวบทกฎหมายมาตรา 112 นั้นกว้างขวางเพียงใด ในวันสุดท้ายของเดือนพฤศจิกายน 2563 “คำพิพากษาแรก” ก็ปรากฏออกมา โดยศาลจันทบุรีได้ “ยกฟ้อง” คดีมาตรา 112 ของจรัส นักศึกษาชาวจันทบุรีผู้ถูกกล่าวหาว่าโพสต์ข้อความวิพากษ์เศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสรีภาพการแสดงออก เปิดนิยาม-แยกองค์ประกอบ “ความผิดฐานนำเข้าข้อมูลเท็จ” ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯกรกฎาคม 24, 2021 การออกมาวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลในช่วงวิกฤติจะถือเป็นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่ประชาชนพึงมีตามรัฐธรรมนูญก็ตาม แต่รัฐบาลก็มีความพยายามในการตีความเอาผิดการแสดงออกดังกล่าวด้วยเช่นกัน ซึ่งหนึ่งในกฎหมายที่ถูกนำมากล่าวอ้างเพื่อจำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นก็คือ “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ ขั้นตอน วิธีการสั่ง “บล็อคเว็บ” ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ และช่องทางการคัดค้านมิถุนายน 4, 2021 เมื่อรัฐต้องการจะ “บล็อคเว็บ” หรือระงับการเผยแพร่ข้อมูลบนสื่อออนไลน์ต่างๆ ต้องอาศัยอำนาจและขั้นตอนตามกฎหมายที่ให้สามารถทำได้ ซึ่งกฎหมายหลักที่ใช้ในสถานการณ์ทั่วไป คือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ 0 0 0
อ่าน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสรีภาพการแสดงออก เปิดคำสั่งศาล ให้เว็บ Change.org “ฆ่าไม่ตาย” กลับมาใช้งานได้มิถุนายน 3, 2021 เปิดคำสั่งศาลอาญา หลังกระทรวงดีอีขอปิดเว็บรณรงค์ Change.org ทำให้เข้าถึงไม่ได้ทั้งเว็บตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2563 แต่ศาลก็ให้กลับมาเปิดได้แล้วในเดือนมีนาคม 2564 โดยศาลระบุว่า คำสั่งก่อนหน้านี้ไม่ถูกต้อง กระทรวงดีอีไม่ได้บอกว่าจะขอปิดทั้งเว็บ ศาลเข้าใจว่าปิดเฉพาะเนื้อหาบางส่วน 0 0 0
อ่าน บทความเสรีภาพอื่นๆ เสรีภาพการแสดงออก เปิดกระบวนการนอกกฎหมาย ตร.จู่โจมแอดมินเพจวิจารณ์สถาบัน ยึดเพจ-ขอให้หยุดกันยายน 4, 2020 เดือนสิงหาคมที่ผ่า… 0 0 0
อ่าน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสรีภาพการแสดงออก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้อำนาจรัฐปิดเว็บที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้ไม่ผิดกฎหมายสิงหาคม 27, 2020 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปี 2560 มาตรา 20 เป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญสำหรับรัฐในการปิดกั้นเนื้อหาบนโลกออนไลน์ โดยมาตราดังกล่าวกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่งระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างกว้างขวาง 0 0 0
อ่าน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เสรีภาพการแสดงออก เปิดข้อเสนอแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ไม่ให้ใช้ฟ้องปิดปากสิงหาคม 5, 2020 ประเทศไทย มีกฎหมายหลายฉบับที่กำกับและควบคุมเสรีภาพในการแสดงออก ที่โดดเด่นที่สุด คือ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อป้องกันการกระทำความผิดต่อข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การโจมตีระบบ หรือ การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่ก็ถูกนำมาใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์อย่างผิดฝาผิดตัวและเป็นผลให้เกิดการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้ จึงมีข้อเสนอจากภาคประชาชนที่ต้องการป้องกันไม่ให้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถูกนำมาใช้เพื่อ "ฟ้องปิดปาก" 0 0 0