ตี้ ผู้อาสาขึ้นอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี
อ่าน

ตี้ ผู้อาสาขึ้นอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี

26 ตุลาคม 2563 ผู้ชุมนุมราษฎรในสภาพ “ไร้แกนนำ” รวมตัวกันที่หน้าห้างสามย่านมิตรทาวน์เพื่อเดินขบวนไปยังสถานทูตเยอรมนี เพื่อยื่นหนังสือให้ทางการเยอรมนีตรวจสอบว่า พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้พระราชอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินระหว่างทรงประทับในเขตอำนาจอธิปไตยของเยอรมนีหรือไม่ การชุมนุมครั้งนี้เกิดขึ้นในสภาวะที่ผู้มีบทบาทนำในการชุมนุม เช่น ทนายอานนท์ นำภา, รุ้ง ปนัสยา และเพนกวิน พริษฐ์ กำลังถูกคุมขังในเรือนจำหลังถูกจับกุมตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2563 เมื่อผู้มีบทบาทนำในการปราศรัยถูกคุมขังไปหลายคน ผู้ชุมนุมราษฎรจึงปรับขบวนใหม่นัดหมายชุมนุมแบบไม่เน้นการปราศรัย เน้นการเติบโตพร้อมกั
รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน
อ่าน

รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน

9-10 มิ.ย. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีนัดปรึกษาร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ซึ่งนายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ 31 มกราคม 2565 แต่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน และไม่ได้พระราชทานร่างกฎหมายคืนกลับมา
8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน เอกชัย หงส์กังวาน นักสู้ผู้ยอมหักไม่ยอมงอ
อ่าน

8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน เอกชัย หงส์กังวาน นักสู้ผู้ยอมหักไม่ยอมงอ

รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 เวียนมาครบรอบแปดปีในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ระยะเวลาแปดปีที่ผ่านมามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในประเทศนี้หลายประการ เช่น พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผันตัวจากหัวหน้าคณะรัฐประหารมาเป็นนายกรัฐมนตรีที่เข้าสู่อำนาจตามกลไกปกติรัฐธรรมนูญ 2560 พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ พี่ใหญ่ คสช.ผันตัวเป็นนักการเมืองแบบเต็มตัวด้วยการสมัครเป็นสมาชิกและขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ  จากนั้นก็มีการจัดการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 การเลือกตั้งในปี 2562 และการสิ้นสภาพของคสช.
บอย: “ผมแค่อยากจะเห็นอีสานที่ดีขึ้น และส่งประเทศที่ดีขึ้นให้คนรุ่นถัดไป”
อ่าน

บอย: “ผมแค่อยากจะเห็นอีสานที่ดีขึ้น และส่งประเทศที่ดีขึ้นให้คนรุ่นถัดไป”

พงศธรณ์ ตันเจริญ หรือ สหายบอย เป็นนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สาขาวิชาการเมืองการปกครอง ชั้นปีที่ 3 สหายบอยเป็นแกนนำแนวร่วมนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อประชาธิปไตย โดยเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 สหายบอยได้มีนัดหมายฟังคำสั่งฟ้องข้อหาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เหตุจากคดีการชุมนุม #25พฤศจิกาไปSCB เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 ที่กลุ่มราษฎรนัดหมายชุมนุมบริเวณหน้าสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ แต่ในการชุมนุมดังกล่าวมีการนำตู้คอนเทนเนอร์และลวดหนาม พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดนจำนวนมากมาวางกำลังจึงทำให้กลุ่มราษฎรต้องเปลี่ยนแปลงสถานที่ไปเป็นบริเวณธนาคารไทยพาณ
“บุญลือ” : ชีวิตที่ไม่อาจเดินตามความฝันเพราะคดี 112
อ่าน

“บุญลือ” : ชีวิตที่ไม่อาจเดินตามความฝันเพราะคดี 112

บุญลือ (นามสมมติ) เป็นบัณฑิตจบใหม่จากคณะนิติศาสตร์ เขามีความฝันที่อยากจะทำงานเป็นข้าราชการเพราะต้องการที่จะทำให้คนในครอบครัวของเขามีชีวิตที่สบาย แต่แล้วทุกสิ่งก็เปลี่ยนไปเมื่อเขาถูกแจ้งความดำเนินคดีหมิ่นพระมหากษัตริย์ เขาได้รับหมายเรียกให้ไปรับทราบข้อกล่าวหาจากการคอมเมนต์ในเพจเฟสบุ๊กเกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์การเมืองและสถาบันกษัตริย์ เขาถูกกล่าวหาแจ้งความดำเนินคดีที่จังหวัดพังงา โดยเขาต้องเดินทางจากจังหวัดสุโขทัยเพื่อไปรับทราบข้อกล่าวหาเป็นระยะทางกว่า 1,185 กิโลเมตร จากนี้ไปคือความเป็นมาของตน, ที่มาของการดำเนินคดี รวมไปถึงชีวิตความเป็นอยู่หลังจากตกเป็นผู้ถูกกล่าวหาคดีหมิ่นพระมหากษัตริย์
บาส มงคล: สองคดี 27 ข้อความ หลังเปิดตัวอดอาหารหน้าศาล
อ่าน

บาส มงคล: สองคดี 27 ข้อความ หลังเปิดตัวอดอาหารหน้าศาล

ในเดือนเมษายน 2564 ระหว่างที่ผู้ต้องหาและจำเลยที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น เพนกวิน พริษฐ์ ชิวารักษ์, ทนายอานนท์ นำภา, ไผ่ จตุภัทร์ ฯลฯ ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำด้วยคดีมาตรา 112 ชายหนุ่มวัย 28 ปี เดินทางจากบ้านที่จังหวัดเชียงรายมาที่หน้าศาลอาญาด้วยตัวคนเดียวและกระเป๋าเป้หนึ่งใบ เพื่อมาปักหลักเรียกร้องสิทธิการประกันตัวให้ผู้ต้องขังคดีการเมืองทุกคนโดยการ “อดอาหาร” เดินตามพริษฐ์ที่กำลังอดอาหารอยู่ในเรือนจำเช่นกัน บาสมาปักหลักอยู่หน้าศาลอาญา และวางแผนจะอยู่ยาว โดยไม่มีเพื่อนมาด้วย ไม่มีเครื่องนอน ไม่มีเต้นท์หรือมุ้ง ไม่มีป้ายบอกว่าเขากำลังประท้วงอะไร เขานั่งอยู่ที่ป้ายรถเม
“กัลยา” : หมายเรียกทางไกลจากสุไหงโก-ลก
อ่าน

“กัลยา” : หมายเรียกทางไกลจากสุไหงโก-ลก

“กัลยา” พนักงานบริษัทเอกชนคนหนึ่งรู้ตัวอีกทีก็มีหมายเรียกไปถึงที่บ้านให้ต้องออกเดินทางไกลไปดินแดนใต้สุดของประเทศ เพราะมีคนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อนไปแจ้งความต่อเธอไว้ที่นั่น
“นคร” : “เราไม่เคยสนใจการเมือง แต่หลังจากโดน 112 เราจึงหันมาสนใจการเมืองมากขึ้น”
อ่าน

“นคร” : “เราไม่เคยสนใจการเมือง แต่หลังจากโดน 112 เราจึงหันมาสนใจการเมืองมากขึ้น”

“นคร” เป็น LGBTQ+ ประกอบอาชีพเป็นช่างรับจ้างแต่งหน้า อยู่ที่จังหวัดเชียงราย และยังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย เดิมทีนครไม่ได้มีความสนใจเกี่ยวกับการเมือง เขาเล่าว่าเขามีหน้าที่ใช้ชีวิตไปเรื่อย ๆ ตามที่สังคมเป็น แต่เมื่อปี 2563 นครทราบข่าวว่าเขาจะถูกดำเนินคดีมาตรา 112 จากสำนักข่าวทีวีช่องหนึ่งซึ่งได้รายงานข่าวว่า นครได้แชร์เนื้อหาเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ พร้อมระบุวันที่แชร์เนื้อหาอย่างชัดเจน แต่นครปฏิเสธเพราะเมื่อย้อนกลับดูไม่พบว่าเขาแชร์เนื้อหาเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ในวันดังกล่าวเลย ต่อมา ในช่วงปลายปี 2563 นครได้รับหมา
บีม: “เรื่องนี้ทำให้เราไม่มีความสุขไปแล้วกับการแค่โพสต์ข้อความที่เป็นความจริง”
อ่าน

บีม: “เรื่องนี้ทำให้เราไม่มีความสุขไปแล้วกับการแค่โพสต์ข้อความที่เป็นความจริง”

พุทธศักราช 2563-2564 เป็นห้วงเวลาที่ประเทศไทยมีผู้ถูกดำเนินคดีด้วยมาตรา 112 มากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยการกระทำที่ส่งผลให้มีคนถูกฟ้องเป็นจำนวนมากที่สุด ไม่ใช่การปราศรัยหรือการเผาทำลายพระบรมฉายาลักษณ์ หากแต่เป็นเพียงการ “โพสต์แสดงความคิดเห็น” ในช่องทางออนไลน์อย่างเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ นับถึงปลายเดือนพฤศจิกายน 2564 มีจำนวนคดีมากถึง 82 คดี ซึ่งคิดเป็นเกือบ 50% จากทั้งหมด 166 คดี หนึ่งในตัวเลขจำนวนคดีดังกล่าว คือคดีของอรรฆพล (สงวนนามสกุล) หรือบีม กราฟิกดีไซน์เนอร์จากกรุงเทพฯ อายุ 25 ปี ผู้ถูกฟ้องด้วยมาตรา 112 จากการโพสต์ข้อความที่ใครหลายคนอาจเคยเห็นผ่านตาว่า..
“ส่วนราชการในพระองค์” : คสช. สร้างหน่วยงานพิเศษที่ตรวจสอบไม่ได้ ทำลายระบอบประชาธิปไตยฯ
อ่าน

“ส่วนราชการในพระองค์” : คสช. สร้างหน่วยงานพิเศษที่ตรวจสอบไม่ได้ ทำลายระบอบประชาธิปไตยฯ

ทำความรู้จักกับ “ส่วนราชการในพระองค์” องค์กรที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ถือกำเนิดจากกฎหมายสามฉบับที่ออกในยุค คสช. ถึงแม้จะรับงบประมาณจากรัฐ แต่ไม่ใช่ส่วนราชการ ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ระบบกฎหมายอื่นเข้าไปตรวจสอบไม่ได้