พรรคเพื่อไทยเสนอเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ เลือกตั้ง สสร. แบบแบ่งเขต 100 %
อ่าน

พรรคเพื่อไทยเสนอเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ เลือกตั้ง สสร. แบบแบ่งเขต 100 %

หลังพรรคประชาชนเสนอให้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ พรรคเพื่อไทยจึงได้เสนอร่างตนเองเข้าประกบโดยมีสาระสำคัญสองประการเหมือนกับพรรคประชาชน คือ ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 256 เสียก่อน โมเดล สสร. ของพรรคเพื่อไทยมีจุดเด่นอยู่ตรงที่จะใช้วิธีการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตตามจังหวัดเท่านั้น ซึ่งจะมีทั้งสิ้น 200 คน และมีโควต้าการตั้ง กรธ. แบบที่น่าจับตามอง
ส่องร่างแก้ พ.ร.บ. กลาโหมของเพื่อไทย-ประชาชน-กรมพระธรรมนูญ สกัดรัฐประหาร-ลดอำนาจทหารเพิ่มอำนาจพลเรือน
อ่าน

ส่องร่างแก้ พ.ร.บ. กลาโหมของเพื่อไทย-ประชาชน-กรมพระธรรมนูญ สกัดรัฐประหาร-ลดอำนาจทหารเพิ่มอำนาจพลเรือน

ส่องร่างแก้ไขพระราชบัญญํติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551 (พ.ร.บ. กลาโหมฯ ) ที่ถูกเสนอผ่านร่างฉบับพรรคประชาชน พรรคเพื่อไทยและกรมพระธรรมนูญ
หลักฐานไม่พอ! ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครอง
อ่าน

หลักฐานไม่พอ! ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครอง

22 พฤศจิกายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งไม่รับคำร้อง ที่ธีรยุทธ สุวรรณเกษร ยื่นคำร้องให้วินิจฉัยว่าทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง โดยเหตุผลคือยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอ
จับตาศาลรัฐธรรมนูญ รับ/ไม่รับคำร้อง ปมทักษิณ-พรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง
อ่าน

จับตาศาลรัฐธรรมนูญ รับ/ไม่รับคำร้อง ปมทักษิณ-พรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีนัดประชุมเพื่อพิจารณาว่าจะรับหรือไม่รับคำร้อง กรณีธีรยุทธ สุวรรณเกษร ยื่นคำร้องให้วินิจฉัยว่าทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองหรือไม่
จะ “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก่อน? 
อ่าน

จะ “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก่อน? 

ย้อนดูเกมการเมืองที่ทำให้ยังไม่ได้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ยังไม่ได้ทำประชามติเสียที โดยจะส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความเรื่องการทำประชามติ เป็นครั้งที่สอง
5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่

17 มีนาคม 2567 านเสวนา “5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่” ชวนมองไปข้างหน้า เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มีกระบวนการอย่างไร ประชาชนจะทำอะไรได้บ้าง รวมถึงการเลือก สว. ชุดใหม่
“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย
อ่าน

“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย

ก่อนจะถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ชวนทบทวนความเคลื่อนไหวสำคัญของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ นับตั้งแต่หลังเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นมา
เช็คจุดยืนเพื่อไทย เขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

เช็คจุดยืนเพื่อไทย เขียนรัฐธรรมนูญใหม่

แม้ว่าการร่างรัฐธรรมนูญใหม่จะเป็นวาระสำคัญ แต่จะร่างอย่างไร และหน้าตาของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) จะเป็นแบบใดยังคงไม่มีความชัดเจน ย้อนดูคำพูดของพรรคเพื่อไทยในประเด็นที่เกี่ยวกับจุดยืนการร่างรัฐธรรมนูญใหม่
เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล
อ่าน

เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล

พรรคเพื่อไทยจับมือกับพรรคภูมิใจไทยออกแถลงการณ์ร่วมกันว่า จะเร่งแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยการประชุมคณะรัฐมนตรีในวาระแรกจะมีมติให้ทำประชามติขอจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็นขั้นตอนการทำประชามติพิเศษเพิ่มเติมขึ้นมา เท่ากับว่าหากจะจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ให้สำเร็จ ต้องทำประชามติอย่างน้อย 3 ครั้ง
คิดถึงพวกเขาไหม?? ผลเลือกตั้ง’66 ทำคนหน้าคุ้นคนไหนหายไปจากสภาบ้าง
อ่าน

คิดถึงพวกเขาไหม?? ผลเลือกตั้ง’66 ทำคนหน้าคุ้นคนไหนหายไปจากสภาบ้าง

ผลจากระบบเลือกตั้งที่ใช้ในปี 2566เห็นได้ว่ามี "คนหน้าใหม่" ได้เข้าสู่สภาเป็นครั้งแรกจำนวนมาก แต่ "คนหน้าคุ้น" ที่ยืนหยัดอยู่ในสภามายาวนาน เป็นสีสันประจำของการอภิปรายในสภา หรือคนที่โด่งดังแสงจับได้ช่วงหาเสียงจำนวนไม่น้อยเลยที่ "หลุด" หรือ "สอบตก" หายหน้าไปจากการเมืองรอบนี้