พรรคไหนชนกันในศึกเลือกตั้งนายก อบจ. ปี 68
อ่าน

พรรคไหนชนกันในศึกเลือกตั้งนายก อบจ. ปี 68

ศึกเลือกตั้ง อบจ.2568 เป็นสนามวัดพลังและความนิยมทางการเมืองของพรรคการเมืองต่างๆ ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2570 เนื่องจากการเลือกตั้ง นายก อบจ. เป็นสนามการเมืองท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใช้ทั้งจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เราทำข้อมูลผู้สมัครนายก อบจ.แยกเป็นรายภาคเพื่อให้เห็นว่าแต่ละพรรคเน้นในพื้นที่ที่ไหนและพรรคไหนลงสมัครแข่งกันบ้าง
เลือกตั้งนายกอบจ.ใหม่ “คนเก่า-คนใหม่-พรรคไหนมา”
อ่าน

เลือกตั้งนายกอบจ.ใหม่ “คนเก่า-คนใหม่-พรรคไหนมา”

นับจนถึงสิ้นปี 2567 จะมีการเลือกตั้งนายกอบจ.ก่อนครบวาระทั้งสิ้น 29 จังหวัด ซึ่งผลการเลือกตั้งมีทั้งคนเก่ารักษาเก้าอี้ได้ และมีคนใหม่เข้ามาช่วงชิงตำแหน่งได้ หรือเขามาสานต่อตำแหน่งจากคนเดิม
ตำแหน่งไหนในพรรคการเมือง สมัคร สว. 67 ไม่ได้ ถ้าพ้นตำแหน่งไม่เกิน 5 ปี
อ่าน

ตำแหน่งไหนในพรรคการเมือง สมัคร สว. 67 ไม่ได้ ถ้าพ้นตำแหน่งไม่เกิน 5 ปี

ผู้สมัคร สว. ต้องไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ดำรงตำแหน่งในพรรคการเมือง เว้นแต่ได้พ้นจากการดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปีนับถึงวันสมัครรับเลือก ดังนั้น ผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งในพรรคการเมืองหากต้องการจะลงสมัคร สว. ได้จะต้องเว้นวรรคจากการดำรงตำแหน่งนั้นมาแล้วไม่น้อยห้าปี
รู้หรือไม่ อดีตพรรคร่วมรัฐบาลเคยเทคะแนนโหวตปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้ว 3 ครั้ง
อ่าน

รู้หรือไม่ อดีตพรรคร่วมรัฐบาลเคยเทคะแนนโหวตปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้ว 3 ครั้ง

ช่วงเวลาสี่ปีของสภาที่ผ่านมา ประเด็นการตัดอำนาจ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง แม้แต่อดีตพรรคร่วมรัฐบาลอย่างพรรคพลังประชารัฐ พรรคภูมิใจไทย พรรคประชาธิปัตย์ ก็เคยยกมือปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้วถึงสามครั้ง รวมถึงเคยเสนอร่างเพื่อตัดอำนาจ ส.ว. ของตนเองด้วย
ในสภาวะ “ไม่ปกติ” ไม่ใช่พรรครัฐบาลก็ช่วยสนับสนุนเสียงข้างมากได้
อ่าน

ในสภาวะ “ไม่ปกติ” ไม่ใช่พรรครัฐบาลก็ช่วยสนับสนุนเสียงข้างมากได้

ในสภาวะที่ไม่ปกติ ส.ว. แต่งตั้งยังสามารถกำหนดความเป็นไปของรัฐบาลใหม่ได้เช่นนี้ ส.ส. ทุกคนในฐานะที่มีที่มาซึ่งชอบธรรมจากการเลือกตั้งโดยประชาชนสามารถช่วยรักษาหลักการประชาธิปไตยเสียงข้างมากได้ โดยการยืนยันสนับสนุนแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี จากฝ่ายเสียงข้างมาก
เลือกตั้ง 66 :  “ป้ายหาเสียง” พรรคมีอิสระในการสร้างสรรค์ แต่ไม่เป็นอิสระจากกกต.
อ่าน

เลือกตั้ง 66 : “ป้ายหาเสียง” พรรคมีอิสระในการสร้างสรรค์ แต่ไม่เป็นอิสระจากกกต.

ฤดูกาลเลือกตั้ง จะเริ่มเห็นป้ายหาเสียงแสดงข้อมูลผู้สมัครส.ส. และนโยบายพรรคการเมือง  ให้ประชาชนรู้จักและตัดสินใจ อย่างไรก็ดี การติดตั้งป้ายต้องเป็นไปตามประกาศของกกต. หากไม่ตรงหลักเกณฑ์ จากที่จะเป็นคุณในการสร้างความนิยมเพิ่มให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งและพรรคการเมือง อาจกลับกลายเป็นโทษเสียแทน
เลือกตั้ง 66: ส่องโปรไฟล์พรรคการเมือง พรรคไหนเคยหนุน พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกฯ
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส่องโปรไฟล์พรรคการเมือง พรรคไหนเคยหนุน พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกฯ

เพื่อให้ประชาชนมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจก่อนเข้าเข้าคูหา เราจึงได้ทำการรวบรวมข้อมูลจุดยืนพรรคการเมืองในการเลือกตั้งครั้งก่อนไว้ว่าพรรคการเมืองไหนที่เคยสนับสนุนหรือไม่สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตหัวหน้าคสช. เป็นนายกรัฐมนตรี
เลือกตั้ง 66: กฎหมายพรรคการเมืองคลุมเครือ “คนนอกครอบงำ” เสี่ยงพรรคถูกยุบ
อ่าน

เลือกตั้ง 66: กฎหมายพรรคการเมืองคลุมเครือ “คนนอกครอบงำ” เสี่ยงพรรคถูกยุบ

“คนนอกครอบงำพรรค” เป็นอีกหนึ่งข้อหาที่หลายพรรคการเมืองต้องเฝ้าระวังเป็นอย่างยิ่ง และมักถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นข้อโจมตีทางการเมืองที่ปรากฎตามสื่ออยู่บ่อยครั้ง เพราะประเด็นนี้ยังคงมีช่องโหว่ในการตีความอยู่มาก แต่มีโทษหนักถึงขั้นยุบพรรค
เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”
อ่าน

เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”

เสวนาในหัวข้อบทเรียนจากท้องถนน: พรรคการเมืองกับนโยบายเสรีภาพการชุมนุม มีการเชิญชวนพรรคการเมืองมาร่วมพูดคุยถึงประเด็นด้านเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน และนโยบายเกี่ยวกับการชุมนุมที่แต่ละพรรคตั้งใจนำเสนอ
เลือกตั้ง 66: เปิดรับฟังความเห็นแบ่งเขตอีกรอบ ช่วยกันดูและส่งเสียงบอก กกต. ภายใน 13 มีนา
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดรับฟังความเห็นแบ่งเขตอีกรอบ ช่วยกันดูและส่งเสียงบอก กกต. ภายใน 13 มีนา

หลังศาลรัฐธรรมนูญมีมติให้ กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ โดยใช้จำนวนราษฎรที่มีสัญชาติไทยเท่านั้น กกต. แต่ละจังหวัดจึงเปิดรับฟังความคิดเห็นประชาชนว่าโมเดลแบ่งเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดว่าควรแบ่งเขตแบบไหน? หมดเขตภายใน 13 มีนาคม 2566