ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.
อ่าน

ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.

แม้ว่า Rahaf Mohammed Alqunun สาวชาวซาอุดิอาระเบีย จะมีประเทศที่สามรับเธอให้เข้าไปลี้ภัยแล้ว แต่เรื่องของเธอช่วยทำให้สังคมไทยได้ทบทวนบทบาทของรัฐที่มีต่อผู้ลี้ภัยว่า ต้องดำเนินการตามแนวทางหลักสิทธิมนุษยชน หรือยึดตามหลักต่างตอบแทนโดยส่งผู้ลี้ภัยกลับตามคำร้องขอของมิตรประเทศ
รู้หรือไม่? มีประกาศ คสช. แบบนี้คอยคุมสื่อด้วย
อ่าน

รู้หรือไม่? มีประกาศ คสช. แบบนี้คอยคุมสื่อด้วย

ประกาศ/คำสั่งของ คสช. จำนวนหนึ่งเป็นการควบคุมสื่อมวลชนทั้งโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และสื่อออนไลน์ด้วย หลายคนอาจไม่รู้ว่ามีประกาศ/คำสั่ง แบบนี้อยู่ เช่น การสั่งสื่อต้องเผยแพร่ข้อมูลตามที่ได้รับแจ้งจาก คสช. การขยายอำนาจให้ กสทช. สั่งปิดสื่อได้โดยไม่ต้องรับผิด
ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ “ตั้งคณะกรรมการปิดเว็บแม้ไม่ผิดกฎหมาย”
อ่าน

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ “ตั้งคณะกรรมการปิดเว็บแม้ไม่ผิดกฎหมาย”

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ หนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" เผยโฉมให้เห็นพร้อมเพิ่มอำนาจบล็อกเว็บอย่างกว้างขวางขึ้น พยายามแก้ปัญหาการหมิ่นประมาทออนไลน์แต่ยังคลุมเครือ เพิ่มขั้นตอนการแจ้งเตือนให้แอดมินลบข้อความผิดกฎหมาย ห้ามโพสต์ข้อความกระทบ "ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ" ฯลฯ
รายงานการปิดกั้นสื่อออนไลน์ หลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557
อ่าน

รายงานการปิดกั้นสื่อออนไลน์ หลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557

คสช. ทำรัฐประหาร และกำลังนำไทยเข้าสู่บทเรียนหน้าใหม่ของสถานการณ์การปิดกั้นสื่อสารมวลชน การปิดกั้นโลกออนไลน์ และเสรีภาพการแสดงออก
เปิดผลวิจัย รัฐจ่ายเกือบ 140 ล้าน ค่าไล่ปิดเว็บ
อ่าน

เปิดผลวิจัย รัฐจ่ายเกือบ 140 ล้าน ค่าไล่ปิดเว็บ

สฤณี เปิดผลวิจัยเบื้องต้น “ราคาของการเซ็นเซอร์” อินเทอร์เน็ต เผยกระทบทั้งทางตรง ทางอ้อม ต่อเศรษฐกิจและสังคม เจ้าของเว็บต้องจ่ายอีกหลายล้าน ปิดเนื้อหาหมิ่นกษัติรย์ฯ สูงสุด