ทำความรู้จัก 34 กรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ภายใต้รัฐบาลเศรษฐา
อ่าน

ทำความรู้จัก 34 กรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ภายใต้รัฐบาลเศรษฐา

เส้นทางประชามติเพื่อนำไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ เริ่มคืบหน้าอยู่บ้าง เมื่อ 3 ตุลาคม 2566 นายกฯ มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ มีกรรมการ 34 คน ชวนทำความรู้จักกับกรรมการชุดนี้
คำถามประชามติไม่ดี ระวังได้ “รัฐธรรมนูญเก่าในขวดใหม่”
อ่าน

คำถามประชามติไม่ดี ระวังได้ “รัฐธรรมนูญเก่าในขวดใหม่”

การทำประชามติครั้งแรกเพื่อถามประชาชนว่าอยากได้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่ ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนเพราะคำถามที่ไม่ดีอาจจะทำให้กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญทำได้อย่างไม่ราบรื่น หรือไม่เป็นของประชาชนอย่างแท้จริง เลวร้ายที่สุด ก็อาจจะถึงขั้นแพ้ประชามติ และปิดประตูการมีรัฐธรรมนูญใหม่ไปอีกหลายปี
ประชาชนใช้เวลานับ วัน กกต. ใช้ วัน จับตา ครม. จะพิจารณาได้เมื่อไหร่!
อ่าน

ประชาชนใช้เวลานับ วัน กกต. ใช้ วัน จับตา ครม. จะพิจารณาได้เมื่อไหร่!

ชวนดูไทม์ไลน์การทำงานของกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ควบคู่กับการทำงานของกกต. ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่า การรวบรวมรายชื่อของประชาชนทั้งระบบออนไลน์และระบบกระดาษสามารถทำได้ในเวลาเพียงสั้นๆ
กกต. แจ้ง ตรวจรายชื่อ #conforall เสร็จแล้ว ด่านต่อไป เลขาฯ ครม. ตรวจสอบและเอาเข้าที่ประชุม ครม.
อ่าน

กกต. แจ้ง ตรวจรายชื่อ #conforall เสร็จแล้ว ด่านต่อไป เลขาฯ ครม. ตรวจสอบและเอาเข้าที่ประชุม ครม.

20 กันยายน 2566 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญได้รับหนังสือจากกกต. ว่าได้ดำเนินการตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอจัดทำประชามติเสร็จเรียบร้อยแล้ว หลังจากนี้ จะส่งเรื่องต่อไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อดำเนินการเพื่อให้ครม.มีมติเห็นชอบต่อไป
“ไม่ได้ดึงเวลา” ย้อนฟังคำโฆษกสำนักนายก ทำไมต้องตั้งคณะกรรมการฯ ประเด็น รธน. ซ้ำซ้อน
อ่าน

“ไม่ได้ดึงเวลา” ย้อนฟังคำโฆษกสำนักนายก ทำไมต้องตั้งคณะกรรมการฯ ประเด็น รธน. ซ้ำซ้อน

ชัย วัชรงค์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้ตอบคำถามนักข่าวถามว่า เพราะเหตุใดรัฐบาลจึงเลือกที่จะตั้ง “คณะกรรมการศึกษาการทำประชามติ” หลังจาก “กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ” ส่งการเข้าชื่อแคมเปญ #conforall จำนวน 200,000 กว่ารายชื่อได้ตามกระบวนการแล้ว ทั้งยังเคยมีการตั้งคณะกรรมการศึกษาฯ ลักษณะเดียวกันมาแล้วบ่อยครั้งจากหลายฝ่ายในอดีต
ตรวจรายชื่อ #CONFORALL เสร็จกี่โมง? ภาคประชาชนทวงความคืบหน้า เร่งรัดกกต. ทำงานโดยเร็ว
อ่าน

ตรวจรายชื่อ #CONFORALL เสร็จกี่โมง? ภาคประชาชนทวงความคืบหน้า เร่งรัดกกต. ทำงานโดยเร็ว

14 กันยายน 2566 เวลา 14.00 น. ตัวแทนกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าในการตรวจสอบรายชื่อประชาชน 211,904 ชื่อ เสนอคำถามประชามติ #CONFORALL จากภาคประชาชนต่อสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) 
พลังประชาชน #CONFORALL 200,000+ รายชื่อ ถึงมือกกต.แล้ว!  ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
อ่าน

พลังประชาชน #CONFORALL 200,000+ รายชื่อ ถึงมือกกต.แล้ว! ก้าวแรกสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

รายชื่อเสนอคำถามประชามติ #CONFORALL จำนวน 211,904 รายชื่อ ส่งถึงกกต. นอกจากรวบรวมเอกสารที่ประชาชนลงชื่อบนกระดาษแล้ว ยังมีข้อมูลรูปแบบไฟล์ PDF สแกนรูปเอกสาร และ EXCEL บันทึกลงในแผ่น CD นำส่งกกต. 
เลื่อนวาระแซงหน้าไม่ได้!  ที่ประชุมสภามีมติไม่ให้เลื่อนวาระถกคำถามประชามติแก้รัฐธรรมนูญขึ้นมาพิจารณาก่อน
อ่าน

เลื่อนวาระแซงหน้าไม่ได้! ที่ประชุมสภามีมติไม่ให้เลื่อนวาระถกคำถามประชามติแก้รัฐธรรมนูญขึ้นมาพิจารณาก่อน

30 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร พริษฐ์ วัชรสินธุ สส.บัญชีรายชื่อพรรคก้าวไกล ปรึกษาหารือต่อที่ประชุมในการเปลี่ยนแปลงระเบียบวาระโดยขอให้ที่ประชุมสภาพิจารณาเรื่องการออกเสียงประชามติเพื่อสอบถามความเห็นของประชาชนต่อการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมาพิจารณาก่อน
“ประชามติ” คืออะไร ทำไมประชาชนต้องมีส่วนร่วม
อ่าน

“ประชามติ” คืออะไร ทำไมประชาชนต้องมีส่วนร่วม

การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชนไม่ได้จบลงแค่ออกไปเลือกตั้ง อีกหนึ่งกลไกที่กฎหมายรับรองและกำหนดให้เป็นหน้าที่ของประชาชนคือ “การออกเสียงประชามติ” ซึ่งเป็นกระบวนการให้ประชาชนได้ตัดสินใจกำหนดทิศทางด้วยตนเองเฉพาะในประเด็นที่สำคัญ
เปิดจดหมายโต้แย้งกกต. ปี2566 ลงชื่อต้องออนไลน์ได้แล้ว
อ่าน

เปิดจดหมายโต้แย้งกกต. ปี2566 ลงชื่อต้องออนไลน์ได้แล้ว

ตามที่สำนักงานกกต. แจ้งปากเปล่าว่า การเข้าชื่อเสนอคำถามประชามติต้องทำบนกระดาษเท่านั้น ไม่สามารถลงชื่อออนไลน์ได้แต่ต้องกรอกข้อมูลเป็นไฟล์ดิจิทัลไปยื่นต่อกกต. iLaw จึงทำหนังสือโต้แย้งขอให้กกต. กลับคำวินิจฉัย เพราะปี 2566 เทคโนโลยีสามารถช่วยอำนวยความสะดวกได้ ไม่เป็นภาระกับประชาชนเกินไป