วรรณภา ติระสังขะ: รัฐธรรมนูญที่ต้องดีบรรจุฉันทามติร่วมของสังคม
อ่าน

วรรณภา ติระสังขะ: รัฐธรรมนูญที่ต้องดีบรรจุฉันทามติร่วมของสังคม

วรรณภา ติระสังขะ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนึ่งในผู้ร่วมวงเสวนาได้ตั้งข้อสังเกตสำคัญของพัฒนาการรัฐธรรมนูญไทยว่า ที่ผ่านมาที่มาของผู้ร่างรัฐธรรมนูญมีผลสัมพันธ์กันกับจุดประสงค์ของเนื้อหาในรัฐธรรมนูญเสมอ ซึ่งในอดีตรัฐธรรมนูญยุคแรกต่างพยายามรักษาหลักการ “อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของราษฎรทั้งหลาย” เอาไว้ก่อนถูกสังคมไทยทำหล่นหายไปในกาลต่อมา
รัฐธรรมนูญใหม่ต้องเปิดทางการมีส่วนร่วม ถ่วงดุลอำนาจและตัดวงจรรัฐประหาร
อ่าน

รัฐธรรมนูญใหม่ต้องเปิดทางการมีส่วนร่วม ถ่วงดุลอำนาจและตัดวงจรรัฐประหาร

เนื่องในวันรัฐธรรมนูญ รัฐสภาจัดกิจกรรมที่ลานประชาชนตลอดทั้งวันโดยระหว่าง 18.00-19.30 น. มีงานเสวนาหัวข้อ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร มีความเห็นเช่น การถ่วงดุลอำนาจและการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้มากขึ้น
สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
ปัญหา “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ใน พ.ร.บ.ประชามติ
อ่าน

ปัญหา “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ใน พ.ร.บ.ประชามติ

การแก้ไข พ.ร.บ.ประชามติ พ.ศ. 2564 กำลังเป็นอีกประเด็นที่สำคัญในการทำประชามติเพื่อให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ โดยเฉพาะการแก้ไขประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติไม่ว่าจะเรื่องใด ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตล้มเหลว
กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%
อ่าน

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) และเครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (CALL) เข้าแลกเปลี่ยนข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 
“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย
อ่าน

“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย

ก่อนจะถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ชวนทบทวนความเคลื่อนไหวสำคัญของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ นับตั้งแต่หลังเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นมา
ชวนเขียนจดหมายถึงทำเนียบรัฐบาล #conforall
อ่าน

ชวนเขียนจดหมายถึงทำเนียบรัฐบาล #conforall

ชวนถามประชาชนผู้เป็นเจ้าของสิทธิเสียงร่วมกันเขียนข้อความฝากถึงคณะกรรมการประชามติฯ ผ่านเราว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรที่จะใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” เพื่อนำเสียงพี่น้องประชาชนทุกคนเข้าสู่ห้องประชุมของทำเนียบรัฐบาล
เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ประชามติต้องเปิดกว้าง คำถามมีเงื่อนไขอาจได้คำตอบไม่ตรงเจตจำนงประชาชน
อ่าน

เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ประชามติต้องเปิดกว้าง คำถามมีเงื่อนไขอาจได้คำตอบไม่ตรงเจตจำนงประชาชน

ระหว่างที่การเดินหน้าไปสู่การทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยังไม่ถึงกระบวนการริเริ่มประชามติ 3 พ.ย.  2566 คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) จัดวงอภิปรายสาธารณะในหัวข้อ "กระบวนการขับเคลื่อนรัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตย : แก้ไข-ร่างใหม่-ประชามติ?" 
สภาคว่ำข้อเสนอ สส. ฝ่านค้าน ขอให้ทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

สภาคว่ำข้อเสนอ สส. ฝ่านค้าน ขอให้ทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

25 ตุลาคม 2566 สภาผู้แทนราษฎรคว่ำญัตติสนอให้จัดทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ซึ่งเสนอโดยสส. พรรคฝ่ายค้าน โดยที่ญัตติเรื่องนี้ก็เคยเสนอมาในสภาชุดก่อนและผ่านสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
เช็คจุดยืนเพื่อไทย เขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

เช็คจุดยืนเพื่อไทย เขียนรัฐธรรมนูญใหม่

แม้ว่าการร่างรัฐธรรมนูญใหม่จะเป็นวาระสำคัญ แต่จะร่างอย่างไร และหน้าตาของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) จะเป็นแบบใดยังคงไม่มีความชัดเจน ย้อนดูคำพูดของพรรคเพื่อไทยในประเด็นที่เกี่ยวกับจุดยืนการร่างรัฐธรรมนูญใหม่