5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่

17 มีนาคม 2567 านเสวนา “5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่” ชวนมองไปข้างหน้า เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มีกระบวนการอย่างไร ประชาชนจะทำอะไรได้บ้าง รวมถึงการเลือก สว. ชุดใหม่
Con for All ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%
อ่าน

Con for All ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%

เชิญชวนประชาชนร่วมกันช่วยส่งเสียงถึงคณะรัฐมนตรี ให้ตั้งคำถามประชามติที่ถูกต้องตามหลักการอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน และคำถามที่จะทำให้กระบวนการได้รับความเห็นชอบ
Con for All เยือนทำเนียบฯ 15 ม.ค.นี้ ขอพบนายกฯ หารือทางออกประชามติ
อ่าน

Con for All เยือนทำเนียบฯ 15 ม.ค.นี้ ขอพบนายกฯ หารือทางออกประชามติ

12 มกราคม 2567 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ #Conforall แถลงเตรียมยื่นหนังสือขอเข้าพบ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลในวันที่ 15 มกราคม 2567 เพื่อหารือทางออกแนวทางการทำประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
เลือกอะไรได้ไหม?? สำรวจทางเลือกในการออกเสียงเมื่อคำถามประชามติ “ล็อกหมวด1-2”
อ่าน

เลือกอะไรได้ไหม?? สำรวจทางเลือกในการออกเสียงเมื่อคำถามประชามติ “ล็อกหมวด1-2”

ภายใต้คำถามประชามติ ให้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยไม่แก้ไขหมวด1 และหมวด 2 mujอาจจะนำไปสู่ปัญหาได้มาก จึงชวนประชาชนช่วยกันคิดว่า หากเกิดการทำประชามติขึ้นด้วยคำถามนี้ ประชาชนมีทางเลือกที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ได้อย่างไรบ้าง แต่ละทางเลือกจะส่งผลอย่างไรต่อไป
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ

บทสรุปจากการทำงานตลอดทั้งสามเดือนของคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ และข้อเสนอของไอลอว์ต่อคณะรัฐมนตรีในการตั้งคำถามประชามติ
ผลงานกรรมการประชามติฯ เดินหน้าเป็นวงกลม ประชุมเกือบ 3 เดือนสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ
อ่าน

ผลงานกรรมการประชามติฯ เดินหน้าเป็นวงกลม ประชุมเกือบ 3 เดือนสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ

คณะกรรมการศึกษาแนวทางการทำประชามติใช้เวลาทำงานถึงวันที่ 25 ธันวาคม 2566 หรือ 2 เดือน 23 วัน จึงมีการแถลงสรุปผล แต่ดูเหมือนว่าไม่ได้ทำให้กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญชัดเจนขึ้น มากไปกว่านั้น เวลาที่เสียไปจากการศึกษายิ่งทำให้การร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทอดเวลาออกไปอีก
กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67
อ่าน

กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67

25 ธันวาคม 2566 คณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ที่มีภูมิธรรม เวชยชัย เป็นประธาน ได้ข้อสรุปการทำประชามติครั้งแรกนำสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ คำถามประชามติคำถามเดียว เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ไม่แตะ หมวด 1 ทั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ เตรียมเสนอรายงานต่อ ครม. ภายในไตรมาสแรกของปี 2567
ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน
อ่าน

ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน

ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
25 ธันวาฯ รู้ผล คกก. ประชามติเตรียมแถลงแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่
อ่าน

25 ธันวาฯ รู้ผล คกก. ประชามติเตรียมแถลงแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่

10 ธันวาคม 2566 นิกร จำนง โฆษกคณะกรรมการเพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางในการทำประชามติ เพื่อแก้ไขปัญหาความเห็นที่แตกต่างในเรื่องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 และประธานคณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 เข้าร่วมงานเสวนาที่จัดขึ้นบริเวณ “ลานประชาชน” หน้ารัฐสภา อธิบายถึงความคืบหน้าในการศึกษาแนวทางการทำประชามติ ซึ่งเป็นหน้าที่ที่นิกรทำมาตลอด คือ การเดินสายชี้แจงและพูดคุยกับคนต่างๆ เกี่ยวกับการทำงานของคณะกรรมการชุดนี้
เข้าใจความหมายของคำถามประชาติ 3 แบบ
อ่าน

เข้าใจความหมายของคำถามประชาติ 3 แบบ

ไอลอว์ได้ไปจัดกิจกรรมโพลคำถามประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในสถานที่ต่าง ๆ ว่าหากถามคำถามแบบหนึ่งประชาชนจะเห็นอย่างไร และถ้าคำถามเปลี่ยน คำตอบจะเปลี่ยนด้วยหรือไม่ เพราะคำถามประชามติในแต่ละแบบให้ผลในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ต่างกัน