ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: แม้จะใช้กฎหมายสั่งห้ามชุมนุมกันแบบผิดๆ แต่ก็ห้ามเราเคลื่อนไหว-พูด-คิด ไม่ได้
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: แม้จะใช้กฎหมายสั่งห้ามชุมนุมกันแบบผิดๆ แต่ก็ห้ามเราเคลื่อนไหว-พูด-คิด ไม่ได้

เดือนกุมภาพันธ์ 2559 ตำรวจและทหารอ้างและใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมสามฉบับอย่างผิดเพี้ยน ทับซ้อนกัน จนสับสนวุ่นวายไปหมด หวังหยุดการเคลื่อนไหวภาคประชาชน แต่วิธีการนี้ไม่อาจบรรลุผลตราบที่ภาคประชาชนไทยยังเข้มแข็งพอ และสังคมพร้อมสนับสนุนไปด้วยกัน
บันทึกเหตุ: กุมภาพันธ์เดือนเดียว ปิดกั้น-แทรกแซง 5 กิจกรรม เรื่องร่างรัฐธรรมนูญ ‘มีชัย’
อ่าน

บันทึกเหตุ: กุมภาพันธ์เดือนเดียว ปิดกั้น-แทรกแซง 5 กิจกรรม เรื่องร่างรัฐธรรมนูญ ‘มีชัย’

กุมภาพันธ์ 2559 หลังเห็นร่างแรกรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย หลายฝ่ายพยายามจัดเสวนาและกิจกรรมเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ แต่เเล้วก็มีอย่างน้อย 5 กิจกรรมที่ถูกรบกวนจากเจ้าหน้าที่ทั้งตำรวจและทหาร เช่น งานของนักวิชาการกลุ่มสยามประชาภิวัฒน์, กลุ่มวีมูฟ และเว็บไซต์ประชามติ
เส้นทางก่อนจะถึงวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ’59
อ่าน

เส้นทางก่อนจะถึงวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ’59

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 ร่างแรกถูกเผยแพร่เรียบร้อย หากไม่เกิดอุบัติเหตุทางการเมือง เส้นทางของร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะจบลงที่การทำประชามติ ระยะเวลาประมาณห้าเดือนหลังจากนี้จึงเป็นช่วงเวลาสำคัญในการกำหนดทิศทางการออกเสียงประชามติ
บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์: รัฐธรรมนูญไม่ผ่าน ครั้งต่อไปต้องไม่เหมือนเดิม
อ่าน

บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์: รัฐธรรมนูญไม่ผ่าน ครั้งต่อไปต้องไม่เหมือนเดิม

เว็บไซต์ประชามติพูดคุยกับบัณฑูร เศรษฐศิโรจน์ อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ถึงสถานการณ์การมีส่วนร่วมของประชาชนบนโลกออนไลน์ ปี 2558 อนาคตของร่างรัฐธรรมนูญและการออกเสียงประชามติ รวมทั้งทางออกหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ต้องคว่ำไปอีกรอบ
ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข: เว็บไซต์ประชามติ=ภาคประชาชนที่นับได้
อ่าน

ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข: เว็บไซต์ประชามติ=ภาคประชาชนที่นับได้

สถานการณ์ทางการเมืองตลอดปี 2558 มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นและสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับสังคมไทย และการทำงานของเว็บไซต์ประชามติ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข หนึ่งในผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ จะมาสรุปบทเรียนในปีที่ผ่านมา และมองเป้าหมายการทำงานในอนาคตของเว็บไซต์
โตมร ศุขปรีชา – เรื่องสิทธิขาดพลัง ในสังคมที่ “อำนาจนิยม” เป็นใหญ่
อ่าน

โตมร ศุขปรีชา – เรื่องสิทธิขาดพลัง ในสังคมที่ “อำนาจนิยม” เป็นใหญ่

จากการทำงานมาเกือบหนึ่งปีของเว็บไซต์ประชามติพบว่า มีความคิดเห็นมากมายที่หลบซ่อนอยู่ในสังคม เราจึงขอให้โตมร ศุขปรีชา คอลัมนิสต์ และพิธีกรรายการ "วัฒนธรรมชุบแป้งทอด" หนึ่งในผู้เฝ้ามองสังคมไทย เป็นผู้วิเคราะห์สิ่งที่ซ่อนอยู่ในผลการโหวตของเว็บไซต์
92% ไม่เห็นด้วยเรียก ‘กำลังพลสำรอง’ หวั่นเปิดช่องคอร์รัปชั่น
อ่าน

92% ไม่เห็นด้วยเรียก ‘กำลังพลสำรอง’ หวั่นเปิดช่องคอร์รัปชั่น

เปิดผลโหวตเว็บประชามติ 92 % ไม่เห็นด้วย การเรียกกำลังพลสำรอง เพราะกำลังพลปัจจุบันมีจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อนายจ้างที่ยังต้องจ่ายเงินเดือน เพิ่มภาระทางครอบครัวต่อคนทำงาน และอาจเปิดช่องให้มีการคอร์รัปชั่น แนะควรเพิ่มประสิทธิกองทัพด้วยเทคโนโลยีมากกว่าปริมาณกำลังพล 
เทียนฉายโชว์ผลงาน สปช. เผย “สมาชิกรู้ดีว่าเราฉีกใบสั่งทิ้งไปกี่ใบ”
อ่าน

เทียนฉายโชว์ผลงาน สปช. เผย “สมาชิกรู้ดีว่าเราฉีกใบสั่งทิ้งไปกี่ใบ”

เทียนฉาย กีระนันท์ ประธาน สปช. กล่าวถึงการทำงานตลอด 1 ปีที่ผ่านมาของ สปช. และยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง สปช. กับกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญว่ามีความลึกซึ้ง ยากจะอธิบาย เผย "เรื่องคานงัด" ที่ต้องปฏิรูปใหญ่มี 2 เรื่อง คือ การบริหารราชการแผ่นดินและการศึกษา
Prachamati.org บทบาทในการสร้างพื้นที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับการร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

Prachamati.org บทบาทในการสร้างพื้นที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับการร่างรัฐธรรมนูญ

การสร้างการมีส่วนร่วมในการร่างรัฐธรรมนูญบนพื้นที่ออนไลน์มีความท้าทาย เพราะสถานการณ์การเมืองปัจจุบัน มีเงื่อนไขทำให้การมีส่วนร่วมมีข้อจำกัด เช่น การร่างรัฐธรรมนูญมีพิมพ์เขียวเบื้องต้น เสรีภาพในการแสดงออก ถูกปิดกั้น ประชาชนบางกลุ่มปฏิเสธกระบวนการตั้งแต่ต้น หรือ ความไม่แน่นอนในการร่างรัฐธรรมนูญ  
กิจกรรม ‘เปิดกล้อง ร้องป่าว โรดแม็ปสู่การเลือกตั้ง อยากได้แบบไหน?’
อ่าน

กิจกรรม ‘เปิดกล้อง ร้องป่าว โรดแม็ปสู่การเลือกตั้ง อยากได้แบบไหน?’

เว็บไซต์ Prachamati.org ขอเชื้อเชิญประชาชนผู้เป็นเจ้าของประเทศ ร่วมกันแสดงออกว่า หนทาง หรือ โรดแแมป ไปสู่การเลือกตั้งครั้งใหม่นั้น ควรจะเป็นอย่างไร เพียงท่าน ถ่ายรูปกับสิ่งใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นกระดาษ กำแพง หรือฝ่ามือ พร้อมข้อความว่า "My Roadmap" แล้วเขียนคำบรรยายใต้รูป ในหัวข้อ "โรดแม็ปสู่การเลือกตั้ง คุณอยากได้แบบไหน" จากนั้นติดแฮชแท็ก ‪#‎Prachamati‬ แล้วโพสต์ลงในเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม หรือสื่อสังคมออนไลน์อื่นๆ