iLaw เผยผลสำรวจ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่อง ‘คำถามพ่วง’ และกว่าครึ่งไม่รู้วันลงประชามติ
อ่าน

iLaw เผยผลสำรวจ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่อง ‘คำถามพ่วง’ และกว่าครึ่งไม่รู้วันลงประชามติ

ไอลอว์ทำการสุ่มสำรวจอย่างไม่เป็นทางการ อยากรู้ว่าคนในสังคมตื่นตัวเรื่องการทำประชามติขนาดไหนในบรรยากาศที่การรณรงค์เป็นไปได้ยาก พบร้อยละ 70 ไม่ทราบวันลงประชามติ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่องคำถามพ่วง
ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง
อ่าน

ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง

บรรยากาศของการลงประชามติยังเป็นไปอย่างเงียบเหงา เพราะมีเพียงภาครัฐเท่านั้นที่รณรงค์ได้เต็มตัว ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ที่มีบทบัญญัติที่คลุมเครือ และมีโทษที่รุนแรง อย่างแข็งขัน ทำให้การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญถูกกระชับพื้นที่เข้าไปทุกที
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติต้องเปิดใจไม่ใช่ปิดปาก
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติต้องเปิดใจไม่ใช่ปิดปาก

อีก 43 วัน ก็จะถึงวันออกเสียงประชามติ แต่มันจะเป็นประชามติแบบไหน มันจะเป็นประชามติที่รัฐพร้อมจะเปิดใจฟังเสียงคัดค้านต่อเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ และเปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้ถกเถียงเพื่อทำความเข้าใจผลของการลงประชามติอย่างแท้จริงหรือไม่ หรือสุดท้ายจะเป็นเพียงพิธีกรรมที่รัฐเป็นผู้ควบคุมด้วยกฎหมายและความกลัว
ชายลึกลับควักกระเป๋าซื้อโฆษณา นสพ.ให้ข้อมูลสำคัญ ดึงสังคมอย่าลงประชามติด้วยความกลัว
อ่าน

ชายลึกลับควักกระเป๋าซื้อโฆษณา นสพ.ให้ข้อมูลสำคัญ ดึงสังคมอย่าลงประชามติด้วยความกลัว

เรื่องฮือฮาในสหราชอาณาจักร เพียงหนึ่งวันก่อนวันลงประชามติ Brexit ปรากฏว่าชายคนหนึ่งเหนื่อยใจกับข้อถกเถียงอันไร้คุณภาพ จึงตัดสินใจทุ่มเงินซื้อโฆษณาชี้แจงข้อมูลสำคัญให้คนตัดสินใจก่อนลงประชามติ
แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”
อ่าน

แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”

กลุ่มนักวิชาการและภาคประชาชนร่วมกันอ่านแถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้เสรีภาพ” เชื่อว่าประชามติร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 7 ส.ค. จะไม่สามารถดำเนินไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หากมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559 และประกาศ กกต. เมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2559 ยังคงอยู่ต่อไป
ความเคลื่อนไหวก่อนผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ความเคลื่อนไหวก่อนผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ขัดรัฐธรรมนูญ

iLaw นำรายชื่อภาคประชาชน เอ็นจีโอ และนักวิชาการ จำนวน 107 รายชื่อ ยื่นต่อผู้ตรวจการแผ่นดินขอให้วินิจฉัยว่ามาตรา 61 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ล่าสุดที่ประชุมผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เตรียมยื่นให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
7 เรื่องน่ารู้ก่อนลงประชามติ 7 สิงหา
อ่าน

7 เรื่องน่ารู้ก่อนลงประชามติ 7 สิงหา

หลายคนยังคงสับสนและงุนงงในหลายประเด็นสำหรับการออกเสียงประชามติที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 7 สิงหาคม 2559 เพื่อการเตรียมความพร้อม เราข้อย้ำเตือน 7 ประเด็นก่อนเข้าคูหาลงประชามติ
รวมหนังสือถึงผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่อง ขอให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
อ่าน

รวมหนังสือถึงผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่อง ขอให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญ

รายละเอียดหนังสือร้องเรียนผู้ตรวจการแผ่นดิน ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559  มาตรา 61 วรรคสองและวรรคสี่ ละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนและขัดต่อรัฐธรรมนูญ
พ.ร.บ.ประชามติ: ห้ามรณรงค์-โพสต์ปลุกระดม ติดคุก 10 ปี
อ่าน

พ.ร.บ.ประชามติ: ห้ามรณรงค์-โพสต์ปลุกระดม ติดคุก 10 ปี

คลอดเรียบร้อย สำหรับ พ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อรับมือกับเส้นทางสู่การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 7 ส.ค. 2559 พ.ร.บ.ฉบับนี้ สนช.แก้ไขไปจากเดิมพอสมควร เช่น การตัดไม่ให้มีการรณรงค์ร่างรัฐธรรมนูญ หรือการปรับเปลี่ยนบทลงโทษของความผิดบ้างประเภทใหม่ และยกเลิกการออกเสียงผ่านเครื่องลงคะแนน