เปิดผลสำรวจ ประชาชนรับร่างรัฐธรรมนูญ เพราะต้องการให้ประเทศสงบ เนื้อหาร่างมีผลต่อการตัดสินใจน้อย
อ่าน

เปิดผลสำรวจ ประชาชนรับร่างรัฐธรรมนูญ เพราะต้องการให้ประเทศสงบ เนื้อหาร่างมีผลต่อการตัดสินใจน้อย

iLaw ร่วมกับสถาบันสิทธิฯ เปิดผลการสำรวจเรื่อง เหตุผลที่คนไปลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พบคนส่วนใหญ่ไม่ได้ตัดสินใจตามเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ แต่คนที่เห็นชอบส่วนใหญ่เพราะอยากให้ประเทศสงบ คนที่ไม่เห็นชอบส่วนใหญ่เพราะประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วม
4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติ 7 สิงหา ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้ร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติ 7 สิงหา ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้ร่างรัฐธรรมนูญ

เสียงส่วนใหญ่ของผู้มาใช้สิทธิลงประชามติ เมื่อ 7 สิงหาคม 2559 เห็นชอบทั้งร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วง ซึ่งต้องเคารพทุกเสียงที่มาลงคะแนน แต่ข้อมูลชี้ให้เห็นปัญหา 10 ข้อ ตลอดการทำประชามติ ทำให้ทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ไม่อาจใช้อ้างเป็นความชอบธรรมให้เนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ และการบังคับใช้หลังจากนี้ได้
#ส่องประชามติ: กกต.แจกเพียงข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ ประชาสัมพันธ์นอกเขตฯ ไม่ทั่วถึง
อ่าน

#ส่องประชามติ: กกต.แจกเพียงข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ ประชาสัมพันธ์นอกเขตฯ ไม่ทั่วถึง

แม้ว่า กกต.จะมีแนวทางการประชาสัมพันธ์หลากหลายรูปแบบ แต่จากการรวบรวมข้อมูลยังพบข้อบกพร่องบางประการที่ส่งผลให้ประชาชนจำนวนมากต้องตกขบวนรถไฟประชามติครั้งนี้
#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ
อ่าน

#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ

ก่อนลงประชามติ กรธ. และ กกต. ต่างเร่งทำสรุปสาระสำคัญร่างรัฐธรรมนูญ ส่งให้ประชาชน แต่เอกสารต่างๆ กลับเน้นบอกเฉพาะข้อดีและตอบโต้จุดอ่อนที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ ไม่ได้บอกสาระสำคัญที่ควรรู้ทั้งหมด บางส่วนมีการตีความเพิ่มเติมจากผู้จัดทำ บางส่วนเป็นข้อความเท็จ ส่งผลเสียต่อความชอบธรรมของกระบวนการประชามติ
#ส่องประชามติ: เมื่อการอำนวยความสะดวกของรัฐไปไม่ถึงคนทุกกลุ่ม
อ่าน

#ส่องประชามติ: เมื่อการอำนวยความสะดวกของรัฐไปไม่ถึงคนทุกกลุ่ม

ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในการออกเสียงประชามติวันที่ 7 สิงหาคม 2559 ที่มีผู้มาใช้สิทธิจำนวน 27,623,126 คน จากจำนวนทั้งหมด 50,585,118 คนนั้น มีคนจำนวนหนึ่งที่เข้าไม่ถึงการอำนวยความสะดวกของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการขอใช้สิทธิลงประชามตินอกเขต หรือการเข้าถึงเอกสารเนื้อหาเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะกลุ่มคนพิการ ผู้สูงอายุ กลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ ปกาเกอะญอ และกลุ่มคนมลายู จังหวัดยะลา เป็นต้น
#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ

ประชามติ 7 สิงหาคม 2559 ภาครัฐใช้กลไกต่างๆ ในการรณรงค์และเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่งเนื้อหาในการเผยแพร่เป็นเพียงการพูดถึงข้อดีของร่างรัฐธรรมนูญ ขณะที่ พ.ร.บ.ประชามติฯ ให้การคุ้มครองการดำเนินการต่างๆ ของ กรธ.และภาคส่วนราชการต่างๆ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญ
iLaw ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยความหวังเพื่อวันที่ดีกว่า
อ่าน

iLaw ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยความหวังเพื่อวันที่ดีกว่า

หากร่างรัฐธรรมนูญผ่านการทำประชามติจะมีผลกับคนทั้งประเทศรวมถึงคนรุ่นหลังที่ไม่มีโอกาสร่วมตัดสินใจในวันนี้ด้วย โดยประเด็นที่ยังเป็นปัญหาจะแทบไม่มีโอกาสแก้ไขได้ กติกาที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการเฉพาะหน้าเช่นนี้มีแต่จะนำไปสู่ความขัดแย้ง การทุจริตและความขัดแย้งทางการเมืองจะยังมีอยู่ต่อไปและมีแต่แนวโน้มจะรุนแรงมากยิ่งขึ้น