ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112
อ่าน

ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112

เว็บไซต์รัฐสภา เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.สร้างเสริมสังคมสันติสุข ซึ่งร่างฉบับนี้จะยกเว้นความผิดให้กับผู้ชุมนุมหรือแสดงออกทางการเมือง หรือที่เข้าใจกันว่า เป็นการออกกฎหมาย "นิรโทษกรรม" นั่นเอง โดยร่างนี้รวมการกระทำตั้งแต่ปี 2549 ไม่รวมการทำให้ผู้อื่นเสียชีวิต และไม่รวมคดีมาตรา112
ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง
อ่าน

ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง

ประเทศไทย เคยออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมเหตุการณ์ทางการเมืองอย่างน้อย 23 ครั้ง ในจำนวนนั้น 11 ครั้งเป็นการนิรโทษกรรมแก่บรรดาคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจ ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์การนิรโทษกรรมของประเทศไทยว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ถูกนำไปใช้ในเรื่องใดบ้าง
จากรัฐประหารถึงจัดการวัคซีน : รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ยกเว้นความผิด จนเป็นปกติ?
อ่าน

จากรัฐประหารถึงจัดการวัคซีน : รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ยกเว้นความผิด จนเป็นปกติ?

คณะรัฐมนตรีกำลังจะเสนอร่างแก้ไข พ.ร.บ.โรคติดต่อ โดยมีบทยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่ ท่ามกลางกระแสข่าวการพยายามนิรโทษกรรมผู้มีอำนาจตัดสินใจเรื่องวัคซีน ซึ่งการเสนอและออกกฎหมายเพื่อยกเว้นความรับผิดเป็นเครื่องมือหลักที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ใช้มาตั้งแต่การทำรัฐประหาร 2557
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง

แม้ว่าร่างรัฐธรรมนูญมีชัยจะผ่านการออกเสียงประชามติ ในเบื้องหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ยังจะอยู่กับเราอย่างน้อยก็ 15 เดือน และในเบื้องหลังบรรดาประกาศ/คำสั่ง และวุฒิสภาจากการแต่งตั้งโดย คสช.ยังอยู่หลังจากเลือกตั้ง
มีอะไรใน รัฐ/ธรรมนูญชั่วคราว ฉบับ คณะรัฐประหาร
อ่าน

มีอะไรใน รัฐ/ธรรมนูญชั่วคราว ฉบับ คณะรัฐประหาร

การรัฐประหารและยกเลิกรัฐธรรมนูญ ในอดีตก็จะตามมาด้วยการออกรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวขึ้นใช้เอง iLaw ชวนทุกคนเปรียบเทียบผ่านรธน.ชั่วคราวในอดีตเพื่อมองอนาคต 
คุณคัดค้านนิรโทษกรรมแบบไหน?
อ่าน

คุณคัดค้านนิรโทษกรรมแบบไหน?

ใครๆ ก็พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ต้องออกมาคัดค้านพ.ร.บ.นิรโทษกรรม หลายคนตัดสินใจออกมาชุมนุมกับกลุ่มต่างๆ มีไม่น้อยที่แสดงออกผ่านทางโซเชียลมีเดียโดยเปลี่ยนภาพในเฟซบุคขึ้นข้อความ “คัดค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม” บรรยากาศการเมืองในจังหวะนี้ เรียกได้ว่า แม้แต่คนที่คิดต่างกันเรื่องการเมืองตลอดมา ต่างก็หันมาพูดเรื่องเดียวกัน อย่างไรก็ดี ภายใต้การคัดค้านเหมือนกัน แต่เหตุผลของแต่ละฝ่ายก็แตกต่างกันอยู่มาก ลองสำรวจตัวคุณเองว่า คุณเชื่อแบบไหน และสอดคล้องกับกลุ่มใด
ญาติผู้เสียหายฯ ปรับร่าง พรบ.นิรโทษกรรม ขยายฐานนิรโทษกรรมให้ผู้ชุมนุม
อ่าน

ญาติผู้เสียหายฯ ปรับร่าง พรบ.นิรโทษกรรม ขยายฐานนิรโทษกรรมให้ผู้ชุมนุม

ญาติผู้เสียหาย เปิดรับฟังความเห็นร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรม พร้อมนำไปปรับแก้ใหม่ นิรโทษกรรมให้ความผิดทุกประเภทไม่จำกัดเฉพาะความผิดต่อความมั่นคง นิรโทษกรรมความผิดต่อทรัพย์สินเอกชน และความผิดที่มีโทษจำคุกไม่เกินสามปี พร้อมย้ำเจตนาไม่นิรโทษกรรมให้ทหาร-คนสั่งการ
นักวิชาการประสานเสียง ดันกฎหมายนิรโทษกรรม ปล่อยตัวนักโทษทางการเมือง
อ่าน

นักวิชาการประสานเสียง ดันกฎหมายนิรโทษกรรม ปล่อยตัวนักโทษทางการเมือง

นักวิชาการประสานเสียงผลักดันกฎหมายนิรโทษกรรม ชาญวิทย์สะท้อนภาพอดีต กม.นิรโทษกรรมส่วนใหญ่ยกโทษให้ชนชั้นนำผู้ก่อความรุนแรง ธงชัยชี้ร่างทุกฉบับมีจุดอ่อนแต่จำเป็นเพราะตุลาการไทยเป็นกระบวนการอยุติธรรม สิ่งที่ทำได้เลย คือ การปล่อยนักโทษการเมืองทันที หรือให้ประกันตัว ชัยวัฒน์ชี้การนิรโทษกรรมต้องมาพร้อมกับการยอมลืมบางอย่าง 
ชาญวิทย์หวังนิรโทษกรรมปี 56 เราไม่เหมือน 22 ฉบับในอดีต
อ่าน

ชาญวิทย์หวังนิรโทษกรรมปี 56 เราไม่เหมือน 22 ฉบับในอดีต

อดีตอธิการบดีมธ.ชี้ ประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย 81 ปีมีกม.นิรโทษกรรม 22 ฉบับ เฉลี่ยสามปีครึ่งมีกม.นิรโทษกรรม 1 ฉบับ ซึ่งพบว่า 72.7 % นิรโทษกรรมให้ชนชั้นนำ
ร่วมเขียนร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรม (ฉบับญาติผู้สูญเสีย)
อ่าน

ร่วมเขียนร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรม (ฉบับญาติผู้สูญเสีย)

  ** ล่าสุดเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2556 กลุ่มญาติฯ  (ต่อมาปรับชื่อกลุ่มให้ชัดเจนขึ้นเป็น "กลุ่มญาติผู้เสียหายจากเหตุการณ์ทางการเมือง เมษา – พฤษภา 53") นำความเห็นที่มีต่อการเขียนกฎหมาย ไปปรับแก้ใหม่แล้ว ติดตามผลการปรับแก้ และอ่านร่างฉบับล่าสุด ที่นี่ **