เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้
อ่าน

เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้

การเลือกพิธาเป็นนายกฯ ครั้งที่สองในวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ของแปดพรรคเสียงข้างมาก กลับต้องเจอโจทย์ใหม่ เมื่อวุฒิสภาและฝ่ายพรรคเสียงข้างน้อยส่วนหนึ่งเห็นว่า การเสนอชื่อพิธาเป็นนายกฯ เป็นการเสนอญัตติซ้ำ ซึ่งขัดกับข้อบังคับการประชุมรัฐสภา
เลือกตั้ง66: แคนดิเดตนายกฯ ใครเป็น ส.ส. บ้าง?
อ่าน

เลือกตั้ง66: แคนดิเดตนายกฯ ใครเป็น ส.ส. บ้าง?

จากการเปิดรับสมัครรายชื่อแคนดิเดตนายกฯ ของบรรดาพรรคการเมืองในช่วงการรับสมัครระหว่างวันที่ 4-7 เมษายน 2566 มีทั้งรายชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่ลงสมัคร ส.ส. และไม่ลงสมัคร ส.ส. ลองมาสำรวจกันว่าพรรคไหนส่งใครบ้างและมีคนไหนลงสมัคร ส.ส. บ้าง
หากสภา “ไม่ไว้วางใจ” ประยุทธ์ ครม. พ้นตำแหน่งยกคณะ รัฐสภาต้องเลือกนายกฯ ใหม่
อ่าน

หากสภา “ไม่ไว้วางใจ” ประยุทธ์ ครม. พ้นตำแหน่งยกคณะ รัฐสภาต้องเลือกนายกฯ ใหม่

การลงมติ “ไม่ไว้วางใจ” นายกฯ นั้นมีความพิเศษกว่ากรณีของรมต. ถ้านายกฯ ถูก “ไม่ไว้วางใจ” จะส่งผลให้ ครม.พ้นจากตำแหน่งด้วยทุกคน หลังจากนั้นให้รัฐสภาเลือกนายกฯ ได้ทั้งจากคนในบัญชีแคนดิเดตนายกฯ และจากนายกฯ คนนอก
4 เงื่อนไขรัฐธรรมนูญสร้าง “นายกคนนอก”
อ่าน

4 เงื่อนไขรัฐธรรมนูญสร้าง “นายกคนนอก”

รัฐธรรมนูญไทยส่วนใหญ่มักไม่กำหนดที่มานายกฯ จึงเปิดโอกาสให้มีนายกฯ คนนอก ที่ไม่ผ่านความเห็นชอบของประชาชนจากการเลือกตั้ง หรือไม่ได้เป็น ส.ส. เข้ามาบริหารประเทศได้ ซึ่งที่ผ่านรัฐธรรมนูญไทยได้ออกแบบกติกาเปิดทางนายกฯ คนนอกด้วยวิธีการต่างๆ
5 ข้อควรรู้ก่อนการประชุมสภาเลือกนายกรัฐมนตรี
อ่าน

5 ข้อควรรู้ก่อนการประชุมสภาเลือกนายกรัฐมนตรี

5 มิถุนายน 2562 วันเลือกนายกรัฐมนตรี ก่อนจะไปลุ้นกันในสภา ไอลอว์ขอพาทุกคนไปพบกับ 5 ข้อที่ควรรู้ก่อนการประชุมสภาเลือกนายกรัฐมนตรี
เลือกตั้ง 62: ไม่มี ส.ส. เขต ของพรรคที่เราชอบ หมดสิทธิ์เลือก “พรรคที่ชอบ” ให้เป็น “นายกฯ ที่ใช่”
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ไม่มี ส.ส. เขต ของพรรคที่เราชอบ หมดสิทธิ์เลือก “พรรคที่ชอบ” ให้เป็น “นายกฯ ที่ใช่”

รายชื่อว่าที่นายกฯ ของแต่ละพรรคจะเป็นส่วนในการตัดสินใจของประชาชนว่าจะเลือกพรรคใด ด้วยเหตุนี้พรรคต่างๆ จึงพยายามเสนอว่าที่นายกฯ ที่คิดว่าดีที่สุดเพื่อดึงดูดให้ประชาชนลงคะแนนให้กับพรรคและผู้สมัคร ส.ส. แต่การเลือกตั้งครั้งนี้ประชาชนอาจจะไม่ได้เลือกพรรคการเมืองหรือว่าที่นายกฯ ที่ตัวเองชื่นชอบได้ 
เลือกตั้ง 62: บัญชีว่าที่นายกฯ มาแบบไหนสง่างาม ชอบธรรม ไม่เป็นนายกฯ คนนอก
อ่าน

เลือกตั้ง 62: บัญชีว่าที่นายกฯ มาแบบไหนสง่างาม ชอบธรรม ไม่เป็นนายกฯ คนนอก

ประเด็นข้อถกเถียงหนึ่งของการเลือกตั้ง'62 คือ การตีความคำว่า “นายกฯ คนใน” และ “นายกฯ คนนอก” ตามกติกาใหม่การพิจารณาเพียงว่า เป็น ส.ส. ด้วยหรือไม่ ยังแคบเกินไป แต่ต้องพิจารณาว่า คนที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีนั้นได้เป็นส่วนหนึ่งของสนามเลือกตั้ง มีความเชื่อมโยงกับประชาชนด้วยหรือไม่
เลือกตั้ง 62: บัญชีว่าที่นายกฯ สามรายชื่อ คืออะไร
อ่าน

เลือกตั้ง 62: บัญชีว่าที่นายกฯ สามรายชื่อ คืออะไร

เลือกตั้ง 24 มี.ค. 2562 บังคับให้พรรคการเมืองเสนอ "บัญชีว่าที่นายกรัฐมนตรี" ก่อนการเลือกตั้งไม่เกินพรรคละ 3 รายชื่อ ซึ่งคนที่จะมีโอกาสเป็นนายกฯ หลังการเลือกตั้งต้องอยู่ในรายชื่อบุคคลที่พรรคการเมืองเสนอไว้ ซึ่งไม่ใช่การให้ประชาชนเลือกนายกฯ โดยตรง แต่จะเป็นการเลือกผ่าน ส.ส. 500 คน และ ส.ว. 250 คน 
เลือกตั้ง 62: สี่ช่องทางให้ประยุทธ์ยังเป็นนายกฯ หลังเลือกตั้ง
อ่าน

เลือกตั้ง 62: สี่ช่องทางให้ประยุทธ์ยังเป็นนายกฯ หลังเลือกตั้ง

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ควบตำแหน่งนายกรัฐมนตรี มาตั้งแต่ปี 2557 และชัดเจนว่ายังต้องการอยู่ในอำนาจต่อสังเกตอาการจากการแสดงท่าทีประกาศตัวเป็นนักการเมือง ทั้งนี้ยิ่งเมื่อดูกติกาเลือกตั้งก็เอื้อให้ พล.อ.ประยุทธ์ สามารถสืบทอดอำนาจต่อไปได้ ชวนอ่านสี่ทางช่องเพื่อให้ พล.อ.ประยุทธ์ ยังคงเป็นนายกฯ ต่อหลังการเลือกตั้ง
อ่าน

พรรคการเมืองประสานเสียง ล้างมรดกเผด็จการ-ไม่เอานายกฯ คนนอก

ตัวแทนพรรคการเมืองสี่พรรคประสานเสียงโชว์วิสัยทัศน์บนเวที The Move We Decide ก้าวที่เลือกได้ เนื่องในโอกาสครบรอบสี่ปีของ คสช. โดยคนจากทุกพรรคการเมืองยืนยันพร้อมกันว่า หลังการเลือกตั้งปีหน้า ต้องแก้กติกาล้างมรดกเผด็จการพร้อมยืนยันไม่เอานายกฯ คนนอก