4 ตุลาฯ นี้ศาลลำปางนัด ‘ทิวากร’ ฟังคำพิพากษาคดี 116 กรณีหยั่งเสียงถามคนอยากทำประชามติเรื่องสถาบันกษัตริย์หรือไม่
อ่าน

4 ตุลาฯ นี้ศาลลำปางนัด ‘ทิวากร’ ฟังคำพิพากษาคดี 116 กรณีหยั่งเสียงถามคนอยากทำประชามติเรื่องสถาบันกษัตริย์หรือไม่

    26 สิงหาคม 2565 ศาลจังหวัดลำปางสืบพยานคดีตามประมวลกฎหมายอาญา 116 ของทิวากรแล้วเสร็จและนัดฟังคำพิพากษาในวันที่ 4 ตุลาคม 2565 เขาถูกกล่าวหาว่า ยุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116 การเปิดแคมเปญเชิญชวนให้ผู้ที่เห็นด้วยว่าควรมีการทำประชามติว่าจะคงไว้หรือยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มาร่วมลงชื่อในแคมเปญบนเว็บไซต์ change.org ที่เขาสร้างขึ้น ศาลจังหวัดลำปางนัดสืบพยานโจทก์และจำเลยระหว่างวันที่ 23-26 สิงหาคม 2565 รวมสี่วัน นำพยานเข้าสืบทั้งหมด
จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
การตั้งข้อกล่าวหาผู้ใช้เสรีภาพการแสดงออกประจำปี 2563
อ่าน

การตั้งข้อกล่าวหาผู้ใช้เสรีภาพการแสดงออกประจำปี 2563

การตั้งข้อกล่าวหาผู้ใช้เสรีภาพการแสดงออกประจำปี 2563
เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน
รับมือโควิดในญี่ปุ่น: มาตรการฉุกเฉินที่ไม่มีบทบังคับ และจ่ายเงินเยียวยาให้ “ทุกคน”
อ่าน

รับมือโควิดในญี่ปุ่น: มาตรการฉุกเฉินที่ไม่มีบทบังคับ และจ่ายเงินเยียวยาให้ “ทุกคน”

นักศึกษาป.โท ในญี่ปุ่นชวนตั้งประเด็นต่อ "ภาพลักษณ์" ที่คนไทยมองว่า ในวิกฤติโควิด 19 ชาวญี่ปุ่นอาจไม่ได้มีวินัยที่เรียบร้อยนัก ซ้ำยังมีค่านิยม "หัวเก่า" ทำให้ไม่สามารถทำงานจากที่บ้านได้ รัฐบาลพยายามรักษาการใช้ชีวิตปกติ โดยการตรวจหาเชื้อน้อย ซึ่งต่อมาประชาชนมองว่า เป็นนโยบายที่ผิดพลาด
เลือกตั้ง 62: รายงานอุปสรรคของการเลือกตั้งนอกราชอาณาจักร
อ่าน

เลือกตั้ง 62: รายงานอุปสรรคของการเลือกตั้งนอกราชอาณาจักร

การออกเสียงนอกราชอาณาจักรระหว่างวันที่ 4-16 มีนาคม 2562 พบอุปสรรคในหลายประเทศ ทั้งกรณีการออกเสียงด้วยตนเองที่สถานทูตหรือการออกเสียงทางไปรษณีย์
Section 116: When ‘Sedition’ is used as the obstruction of freedom of expression
อ่าน

Section 116: When ‘Sedition’ is used as the obstruction of freedom of expression

  Have you ever complained with your friends or posted on social network about social problems such as; bad traffic, uneven footpaths, taxis rejecting passengers, long waiting time for buses or even flood issue? Sometimes the complaining may reach to the criticism of the government’s work, which expressed from your feeling or emotions without any other intentions.
มาตรา 116: เมื่อข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” ถูกใช้เป็นเครื่องมือปิดกั้นการแสดงออก
อ่าน

มาตรา 116: เมื่อข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” ถูกใช้เป็นเครื่องมือปิดกั้นการแสดงออก

เคยไหม ที่บ่นกับเพื่อนหรือโพสต์ลงโซเชียลบ่นถึงปัญหาในสังคม ไม่ว่าจะรถติด ทางเดินฟุตบาทเป็นหลุม แท็กซี่ไม่รับ รอรถเมล์นานหรือแม้กะทั่งเรื่องน้ำท่วม จนบางครั้งคำบ่นที่จริงจังก็เลยไปถึงการวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาล ซึ่งการแสดงความคิดเห็นเหล่านี้ก็เป็นไปตามอารมณ์หรือความรู้สึก โดยไม่ได้มีเจตนาอื่นใด และเป็นเรื่องธรรมดาที่ใครสักคนจะวิพากษ์วิจารณ์เรื่องราวที่ประสบพบเจอ และได้รับผลกระทบ แต่ทว่า เรื่องธรรมดาแบบนี้ กำลังกลายเป็นเรื่องที่ทำไม่ได้ เพราะในยุคของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีการใช้มาตราการดำเนินคดีกับผู้ที่ออกมาแสดงความคิดเห็น ซึ่งหลายๆ คดีนั้นก็เวี