เปิดข้อเสนอภาคประชาชน แก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ เดินหน้าผลักดัน #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

เปิดข้อเสนอภาคประชาชน แก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ เดินหน้าผลักดัน #สมรสเท่าเทียม

ภาคประชาชน ในนาม “ภาคีสีรุ้งเพื่อสมรสเท่าเทียม” ได้รวมตัวกันเพื่อเสนอร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ใช้กลไกเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพื่อเสนอ #สมรสเท่าเทียม ภาคประชาชน 
ศาลรธน.มีมติ “เอกฉันท์” กฎหมายแพ่งรับรองสมรสชาย-หญิง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ แนะตรากฎหมายรับรองสิทธิเพศหลากหลาย
อ่าน

ศาลรธน.มีมติ “เอกฉันท์” กฎหมายแพ่งรับรองสมรสชาย-หญิง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ แนะตรากฎหมายรับรองสิทธิเพศหลากหลาย

17 พ.ย. 64 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็น "เอกฉันท์" ว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1448 ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ โดยมีข้อสังเกตว่ารัฐสภา คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง สมควรดำเนินการ "ตรากฎหมาย" รับรองสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศต่อไป
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ช้าง-เบิร์ด ทำงานและเสียภาษีแต่ไม่ได้รับสิทธิ ไม่ใช่เรื่องจารีต แต่เป็นความไม่เท่าเทียม
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ช้าง-เบิร์ด ทำงานและเสียภาษีแต่ไม่ได้รับสิทธิ ไม่ใช่เรื่องจารีต แต่เป็นความไม่เท่าเทียม

ก่อนศาลรัฐธรรมนูญจะมีมติว่าประมวลกฎหมายฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ชวนรับฟังเสียงจาก “เบิร์ด” และ “ช้าง” คู่รักที่คบกันมานานถึง 15 ปี ใช้ชีวิตร่วมกัน ทำงาน จ่ายภาษี แต่ยังไร้กฎหมายที่จะมารับรองสนับสนุนสิทธิเสรีภาพของพวกเขา
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : เตย-แคลร์ มากกว่าสิทธิ คือการสร้างความตระหนักรู้และพื้นที่ปลอดภัย
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : เตย-แคลร์ มากกว่าสิทธิ คือการสร้างความตระหนักรู้และพื้นที่ปลอดภัย

เสียงจาก “เตย-แคลร์” คู่รักต่างสัญญาติ ที่จะมาบอกเล่าเรื่องราวความสัมพันธ์และความกังวลต่างๆ ภายใต้สังคมที่ยังไม่มีกฎหมายมารับรองสถานะเฉกเช่นเดียวกันกับคู่รักชาย-หญิงทั่วไป ก่อนศาลรัฐธรรมนูญมีมติในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
มีลุ้น #สมรสเท่าเทียม นักวิชาการคาด ศาลรธน.อาจชี้ทางแก้กฎหมายแพ่ง ปลดล็อกข้อจำกัดสมรสเฉพาะชาย-หญิง
อ่าน

มีลุ้น #สมรสเท่าเทียม นักวิชาการคาด ศาลรธน.อาจชี้ทางแก้กฎหมายแพ่ง ปลดล็อกข้อจำกัดสมรสเฉพาะชาย-หญิง

อานนท์ มาเม้า และเข็มทองต้นสกุลรุ่งเรือง วิเคราะห์คำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ เนื่องในโอกาสที่ 17 พ.ย. 2564 ศาลรัฐธรรมนูญจะลงมติครั้งประวัติศาสตร์ ว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา 1448 ที่กำหนดการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ อันอาจนำไปสู่ #สมรสเท่าเทียม  
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ลูกหมี-ซัน รักทางไกล ไม่ได้ขอสิทธิมากกว่าคู่รัก ชาย-หญิง
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ลูกหมี-ซัน รักทางไกล ไม่ได้ขอสิทธิมากกว่าคู่รัก ชาย-หญิง

ก่อนศาลรัฐธรรมนูญจะมีมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ชวนรับฟังเสียงจาก “ลูกหมี” และ “ซัน” ที่จะมาแชร์เรื่องราว มุมมอง สิ่งที่อยากบอกกับคนอื่นๆ และข้อเรียกร้องต่อรัฐสภาอันเป็นผู้แทนประชาชน
#สมรสเท่าเทียม : ย้อนดูการต่อสู้และชัยชนะของต่างประเทศ
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม : ย้อนดูการต่อสู้และชัยชนะของต่างประเทศ

ไม่ใช่แค่ในประเทศไทยที่ต่อสู้เพื่อสิทธิในการก่อตั้งครอบครัวอย่างเท่าเทียมกัน แต่อีกหลายประเทศทั่วโลกล้วนผ่านขั้นตอนการต่อสู้มาแล้ว บ้างไปถึงปลายทางของสมรสเท่าเทียม แต่จำนวนไม่น้อยยังคงเก็บชัยชนะระหว่างทางอยู่ 
#สมรสเท่าเทียม : ศาลรัฐธรรมนูญนัดลงมติ กฎหมายแพ่งสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ 17 พ.ย. 64
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม : ศาลรัฐธรรมนูญนัดลงมติ กฎหมายแพ่งสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ 17 พ.ย. 64

ศาลรัฐธรรมนูญมีกำหนดนัดแถลงด้วยวาจา ปรึกษาหารือ และลงมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่รับรองการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564
จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?
อ่าน

จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?

10 มิถุนายน 2564 กลุ่ม Nitihub จัดงานเสวนาวิชาการออนไลน์ในหัวข้อ “LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม ?” ประกอบด้วยวิทยากรหลักห้าคน ได้แก่ ศาสตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ รองศาสตราจารย์มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล เคท ครั้งพิบูลย์ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ศิริศักดิ์ ไชยเทศ และอัครวัฒน์ เลาวัณย์ศิริ พูดคุยกันถึงประเด็นปัญหาทางสังคม-กฎหมาย ที่ยังไม่เปิดพื้นที่แก่ LGBTQI
#สมรสเท่าเทียม: สำรวจหลักกฎหมายและร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม: สำรวจหลักกฎหมายและร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

เนื่องจากมีการเผยแพร่ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ชวนทุกคนมาสำรวจหลักกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรสที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันว่า มีเนื้อหาอย่างไร และร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวจะทำให้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางไหน เพื่อที่จะได้ส่งเสียงออกไปด้วยความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง