อ่าน

เลือกตั้งมีสิทธิ์เลื่อน ถ้า สนช. ยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย กฎหมาย ส.ว.

แม้ สนช. จะลงมติเห็นชอบร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งวุฒิสภา พ.ศ ไปแบบเอกฉันท์ แต่ทว่าการเลือกตั้งตามโรดแมปก็ยังไม่นิ่ง และมีเหตุให้ต้องเลื่อนหากสนช. ยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า กฎหมาย ส.ว. ทั้งฉบับขัดต่อรัฐธรรมนูญ รวมถึงหากศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้กฎหมาย ส.ว. มีอันต้องตกไปทั้งฉบับ ก็มีแนวโน้มที่จะต้องร่างกฎหมาย ส.ว. กันใหม่อีกครั้ง
สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน
อ่าน

สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน

ยังไม่มีความแน่นอนว่าเดือนพฤศจิกายน 2561 จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เคยลั่นวาจาไว้หรือไม่ เพราะมีแนวโน้มว่าโรดแมปตามรัฐธรรมนูญ 2560 จะถูกเลื่อนไปอีกถึง 90 วัน หรือสามเดือน หากที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. เหตุที่โรดแมบจะถูกขยับออกไปอีก 90 วัน เพราะคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส.
5 เหตุการณ์สำคัญที่จะเกิดขึ้นในปี 2561
อ่าน

5 เหตุการณ์สำคัญที่จะเกิดขึ้นในปี 2561

ปี 2561 อาจจะเป็นปีที่ใครบางคนเฝ้ารอคอย ไม่ว่าจะเป็นการทำตามสัญญาของชายชาติทหารที่สัญญาว่าจะให้ประเทศไทยมีการเลือกตั้ง หลังจากเว้นว่างมานานเกือบ 4 ปี แต่ทว่า เหตุการณ์สำคัญในปีนี้ อาจมิใช่แค่การมาของการเลือกตั้ง แต่รวมถึงมรดกต่างๆ ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จะมอบให้กับคนไทย ที่ประกอบไปด้วย แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ กฎหมายลูก(พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ) และมาตรฐานจริยธรรม ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวอาจเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ใหม่ทางการเมืองไทย ที่ใครก็อาจจะลืมไม่ลง…
ปลดล็อคพรรคการเมืองคืออะไร ถ้าไม่ปลดล็อคแล้วจะทำไม
อ่าน

ปลดล็อคพรรคการเมืองคืออะไร ถ้าไม่ปลดล็อคแล้วจะทำไม

คำว่า 'ปลดล็อคพรรคการเมือง' เกิดขึ้นหลังพรรคการเมืองหลายต่อหลายพรรคร่วมกันจี้ รัฐบาล คสช. ให้ยกเลิกคำสั่ง-ประกาศ คสช. บางฉบับ ที่ขัดขวางการดำเนินการตามกฎหมายพรรคการเมืองฉบับใหม่ ส่วนสำคัญอย่างไร ถ้าไม่ปลดล็อคจะเกิดอะไรขึ้น คำตอบก็คือ เพื่อให้พรรคการเมืองได้ดำเนินการตามกฎหมาย ไม่ต้องเสี่ยงหมดสิทธิส่ง ส.ส. ลงสมัคร หรือไม่ได้รับเงินสนับสนุนในการแข่งขันทางการเมือง
รู้จัก ระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ไพรมารีโหวต (Primary Vote) ในพ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ
อ่าน

รู้จัก ระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ไพรมารีโหวต (Primary Vote) ในพ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ

กติกาการเลือกตั้งส.ส.ครั้งนี้ไม่เหมือนการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา สิ่งหนึ่งที่แตกต่างคือ การมีระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ระบบ Primary Vote กล่าวคือ ก่อนการเลือกตั้งจริงทุกพรรคการเมืองจะต้องจัดการเลือกขั้นต้น เพื่อให้สมาชิกพรรคลงคะแนนเลือกว่า ใครจะเป็นตัวแทนของพรรคที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งประจำเขตต่างๆ ก่อน
ส่องแนวคิดปฏิรูปการเมืองของสปท.ก็ “Same same but different”
อ่าน

ส่องแนวคิดปฏิรูปการเมืองของสปท.ก็ “Same same but different”

เเนวคิดปฏิรูปด้านการเมืองของ สปท. เช่น ด้านผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ด้านการเลือกตั้ง ด้านวัฒนธรรมทางการเมืองและด้านพรรคการเมืองจะใช้พิมพ์เขียวเดียวปฏิรูปทุกพรรค อาจกล่าวว่า “same same but different” คือ ข้อเสนอต่างๆ จะออกเดิมๆ วิธีคิดก็เดิมๆ ทางแก้ก็เดิมๆ คนร่างก็หน้าเดิมๆ 
จับตากฎหมายลูก: พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ ร่างแรกให้อำนาจ กกต. มากขึ้น แต่ไร้การถ่วงดุล
อ่าน

จับตากฎหมายลูก: พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ ร่างแรกให้อำนาจ กกต. มากขึ้น แต่ไร้การถ่วงดุล

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นหนึ่งในกฎหมายที่ กกต. ส่งร่างให้กับ กรธ. เมื่อ 19 กันยายน 2559 โดย สมชัย ศรีสุทธิยากร กกต. ให้คำอธิบายร่างกฎหมายอย่างกระชับๆ ว่า ฉบับ "4 ปฏิรูป" ปฏิรูปการรับสมัคร การหาเสียง การใช้สิทธิ และการประกาศผล
ปฏิรูปก่อนบริหาร (อเมริกา)
อ่าน

ปฏิรูปก่อนบริหาร (อเมริกา)

Lawrence Lessig ศาสตราจารย์กฎหมายที่มีชื่อเสียงในสหรัฐฯ ประกาศจะลงสมัครประธานาธิบดี เพื่อปฏิรูปเรื่องคอร์รัปชั่นและประชาธิปไตยของอเมริกา เมื่อทำเสร็จเขาจะลาออก นั่นเท่ากับว่าเขาเสนอให้คนอเมริกันทำ "ประชามติ" ผ่านการเลือกประธานาธิบดี โดยใช้การเลือกตั้งเพื่อไปสู่ปฏิรูป     
ปากคำและความฝันของ ‘บรรพต’ : “ผมไม่เคยคิดล้มเจ้าเลย ระบบกษัตริย์มีความงดงาม”
อ่าน

ปากคำและความฝันของ ‘บรรพต’ : “ผมไม่เคยคิดล้มเจ้าเลย ระบบกษัตริย์มีความงดงาม”

  เมื่อพูดถึงชื่อของ “บรรพต” นักจัดรายการวิทยุเรื่องการเมือง และ “ด่าเจ้า” ทางอินเทอร์เน็ต หลายคนอาจจะรู้สึก “ยี้” 
ชำแหละ-แจกแจง-วิเคราะห์ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ กรณีเลือกตั้ง 2 ก.พ.57
อ่าน

ชำแหละ-แจกแจง-วิเคราะห์ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ กรณีเลือกตั้ง 2 ก.พ.57

ชำแหละคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 28/2557 แยกเป็น 6 ประเด็นตามคำร้องของผู้ตรวจการแผ่นดิน แจกแจงความเห็นของกกต.และรัฐบาลประกอบ พร้อมวิเคราะห์สไตล์รัฐศาสตร์+นิติศาสตร์ คำวินิจฉัย ชอบ-ไม่ชอบอย่างไร