รวมข้อมูลการเลือกตั้ง 2562
อ่าน

รวมข้อมูลการเลือกตั้ง 2562

การเลือกตั้งหลังการครองอำนาจยาวนานของ คสช. กติกาทั้งหลายถูกออกแบบเพื่อสร้างความได้เปรียบให้กับพรรคการเมืองฝ่ายสนับสนุนการสืบทอดอำนาจของ คสช. และสร้างความเสียเปรียบให้กับพรรคการเมืองที่สนับสนุนประชาธิปไตย ไอลอว์รวบรวมข้อมูลเพื่อให้ประชาชนตัดสินใจก่อนเลือกตั้ง  
เลือกตั้ง 62: เปิด 5 เงื่อนไขที่ กกต./คสช. อาจสั่งยกเลิกการเลือกตั้งได้
อ่าน

เลือกตั้ง 62: เปิด 5 เงื่อนไขที่ กกต./คสช. อาจสั่งยกเลิกการเลือกตั้งได้

 พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ เป็นกฎหมายฉบับสำคัญเกี่ยวกับการเลือกตั้งและถูกร่างขึ้นโดยคนกลุ่มเดียวกับที่ร่างรัฐธรรมนูญนั่นเอง ทั้งนี้ กฎหมายนอกจากจะกำหนดรายละเอียดตั้งแต่การกำหนดวันเลือกตั้ง การสมัครรับเลือกตั้ง การแบ่งเขตพื้นที่ การนับคะแนน การประกาศผล ฯลฯ เพื่อให้การเลือกตั้งเกิดขึ้นได้อย่างบริสุทธิ์ยุติธรรมแล้ว กฎหมายฉบับนี้ยังให้อำนาจกับ กกต. ที่จะสั่ง "ระงับ" หรือ "ยกเลิก" การเลือกตั้งได้ด้วย
เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง
อ่าน

เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญปี 2560 กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเกิดขึ้นในปี 2562 และเพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปตามที่คสช. มุ่งหวังไว้ คสช. จึงขอเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง โดยเฉพาะการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ปี 2557 ไปแก้กติกาเพื่อช่วยพรรคการเมืองบางพรรคหรือสร้างเงื่อนไขให้บางพรรค และล่าสุดคือ แก้การแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ตามความเห็น คสช. และรัฐบาล
ส่องการเลือกตั้งไต้หวัน : บทเรียนการก้าวข้ามอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตย
อ่าน

ส่องการเลือกตั้งไต้หวัน : บทเรียนการก้าวข้ามอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตย

วันที่ 16 มกราคม 2016 ไต้หวันจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งที่14 โดยครั้งนี้ไต้หวันได้ ไซ อิงเหวิน (Tsai Ing-Wen) จากพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (Democratic Progressive Party, DPP) เป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศ 
สมบัติ-ปริญญา-ประจักษ์ มองประชาธิปไตยไทยสามยุค ทำไมยังล้มเหลว
อ่าน

สมบัติ-ปริญญา-ประจักษ์ มองประชาธิปไตยไทยสามยุค ทำไมยังล้มเหลว

สถาบันพระปกเกล้าจัดงานประชุมวิชาการประจำปี นักวิชาการสามคนนำคุยเรื่อง บทเรียนประชาธิปไตยที่ล้มเหลวทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก รวมถึงทำนายอนาคตการเมืองไทยหลังการเลือกตั้งปี 62 ทั้งสามคนยังเห็นพ้องกันว่า กติกาแบบใหม่จะนำไปสู่รัฐบาลที่อ่อนแอ
วิษณุ เปิดไทม์ไลน์เลือกตั้ง เลือกนายกฯ ได้ คสช. สิ้นสุด
อ่าน

วิษณุ เปิดไทม์ไลน์เลือกตั้ง เลือกนายกฯ ได้ คสช. สิ้นสุด

8 พฤศจิกายน 2561 วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี แถลงข่าว เรื่อง การเตรียมการของคณะรัฐมนตรี (ครม.) ในการเลือกตั้ง  ว่า การเลือกตั้งจะเกิดขึ้นในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2562 และเมื่อจัดตั้งรัฐบาลใหม่ในช่วงเดือนมิถุนายน 2562 เสร็จแล้ว รัฐบาลเก่าหรือคสช. จะสิ้นสุดลง 
นักวิชาการ-พรรคการเมือง เรียกร้อง ให้ กกต. ทำหน้าที่อย่างเป็นกลางไม่อยู่ภายใต้คสช.
อ่าน

นักวิชาการ-พรรคการเมือง เรียกร้อง ให้ กกต. ทำหน้าที่อย่างเป็นกลางไม่อยู่ภายใต้คสช.

เครือข่ายประชาชนเพื่อการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และมีผลในทางปฏิบัติ (Free, Fair & Fruitful Election) หรือ FFFE จัดเวทีเสวนา เรียกร้องให้ กกต. เป็นกลาง สนับสนุนพรรคการเมือง ไม่อยู่ใต้อาณัติคสช. ชี้ กติกาการเลือกตั้งยังสุ่มเสี่ยงทำการเลือกตั้งไม่เสรีและเป็นธรรม ประกอบกับบทบาทของ คสช. ยังมีส่งผลต่อการเลือกตั้งและพรรคการเมือง
7 เรื่องจริง ที่ “ประเทศกูมี”
อ่าน

7 เรื่องจริง ที่ “ประเทศกูมี”

เพลง ประเทศกูมี ถูกเผยแพร่ในโลกออนไลน์และมีการพูดถึงอย่างมากจนผู้มีอำนาจเตรียมดำเนินคดี เนื้อหาเพลงว่าด้วยการนำข้อเท็จจริงของสังคมการเมืองไทยร่วมสมัยมาร้อยเรียงเป็นบทเพลง โดยขับร้องออกมาในสไตล์ Rap กล่าวได้ว่าเพลง ประเทศกูมีนั้นเปิดบาดแผลของสังคมไทยที่พยายามซุกซ่อนมานานกว่าสี่ปี ชวนอ่าน 7 เรื่องจริงของประเทศกูมี
คสช. ใช้มาตรา 44 ห้ามหาเสียงออนไลน์-ยกเลิกไพรมารี่โหวต
อ่าน

คสช. ใช้มาตรา 44 ห้ามหาเสียงออนไลน์-ยกเลิกไพรมารี่โหวต

คสช ใช้มาตรา 44 คลายล็อกพรรคการเมือง ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 13/2561 สาระสำคัญคือขยายกรอบเวลาให้พรรคการเมืองดำเนินงานธุรการของพรรค ยกเลิกระบบไพรมารีโหวตโดยให้คณะกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นคนมีอำนาจในการสรรหาแทน และห้ามไม่ให้มีการหาเสียงออนไลน์
นักวิชาการ-ภาคประชาชน จี้ คสช. ยุติการสืบทอดอำนาจ จัดการเลือกตั้งที่รณรงค์ได้อย่างเสรีและเป็นธรรม
อ่าน

นักวิชาการ-ภาคประชาชน จี้ คสช. ยุติการสืบทอดอำนาจ จัดการเลือกตั้งที่รณรงค์ได้อย่างเสรีและเป็นธรรม

14 ตุลาคม 2561 เครือข่ายประชาชนเพื่อการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และมีผลในทางปฏิบัติ (Free, Fair & Fruitful Election) หรือ FFFE จัดเสวนาในหัวข้อ “การเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรมกับอนาคตสังคมและการเมืองไทย: มุมมองจากภาคประชาสังคม” ซึ่งประกอบไปด้วยนักวิชาการ ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน