ประกาศห้ามชุมนุมฉบับใหม่ ลักไก่เพิ่มโทษผู้ชุมนุม เปิดทางใช้กำลังทหาร
อ่าน

ประกาศห้ามชุมนุมฉบับใหม่ ลักไก่เพิ่มโทษผู้ชุมนุม เปิดทางใช้กำลังทหาร

หลังการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ นานเกินสองปี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ก็ออกข้อกำหมายตามอำนาจของพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 47 มาบังคับใช้  โดยอ้างเหตุผลว่าการระบาดของโรคโควิด19 ในหลายประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
เสรีภาพสื่อที่หายไปในสนามการชุมนุม
อ่าน

เสรีภาพสื่อที่หายไปในสนามการชุมนุม

สื่ออิสระ นับว่าเป็นกลุ่มคนสำคัญในสนามการชุมนุมที่นับวันมีเหตุความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เพราะพวกเขาต่างทำหน้าที่เสมือนเป็นหูเป็นตาให้กับประชาชนในยามที่สื่อกระแสหลักไม่สามารถทำหน้าที่ได้ แต่ราคาที่ต้องจ่าย คือ ความเสี่ยงนานับประการ ไม่ว่าจะเป็นการคุกคาม การใช้ความรุนแรง ไปจนถึงการดำเนินคดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็น "เสรีภาพสื่อที่หายไป" ในสนามการชุมนุม
สรุปเสวนา “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)”
อ่าน

สรุปเสวนา “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)”

21 สิงหาคม 2564 Nitihub จัดงานเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)” ถกเถียงเรื่องเส้นแบ่งระหว่างความรุนแรง-สันติวิธี, หลักการสลายการชุมนุม ไปจนถึงพลวัตของเส้นสันติวิธีและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
เปิด “หลักสากล” ว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ
อ่าน

เปิด “หลักสากล” ว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ

"การชุมนุมโดยสงบ" เป็นสิทธิที่ถูกรับรองไว้ในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights หรือ ICCPR) ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศสมาชิกจะต้องเคารพและประกันสิทธิเสรีภาพดังกล่าวให้กับบุคคล และไทยเองก็เข้าเป็นภาคีและมีผลบังคับใช้มาตั้งแต่ 29 มกราคม 2543
แก๊สน้ำตาไม่เลือกเป้าหมาย ถอดเหตุการณ์ความรุนแรง #ม็อบ18กรกฎา
อ่าน

แก๊สน้ำตาไม่เลือกเป้าหมาย ถอดเหตุการณ์ความรุนแรง #ม็อบ18กรกฎา

ถอดเหตุการณ์ความรุนแรง การชุมนุมวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 ผู้ชุมนุมเดินจากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยไปยังทำเนียบรัฐบาล
ประมวลการสลายการชุมนุมรีเด็ม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์
อ่าน

ประมวลการสลายการชุมนุมรีเด็ม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์

ประมวลเหตุการณ์การสลายการชุมนุม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์ #REDEM เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 บริเวณสนามหลวง
การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง
อ่าน

การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง

1 มกราคม- 15 มีนาคม 2564 มีการชุมนุมเกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 160 ครั้ง   โดยวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่คือ การเรียกร้องเรื่องการปล่อยตัวนักกิจกรรมทางเมืองและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโควิด 19 
การไต่ระดับความโกรธและการเผชิญหน้าของผู้ชุมนุมราษฎรและรัฐ
อ่าน

การไต่ระดับความโกรธและการเผชิญหน้าของผู้ชุมนุมราษฎรและรัฐ

ย้อนดูปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในการชุมนุมในปี 2564 ที่มาที่ไปแห่งความโกรธและการตอบโต้ที่เกิดขึ้นในการชุมนุม
ข้อเท็จจริงเหตุการณ์ความรุนแรง #ม็อบ28กุมภา
อ่าน

ข้อเท็จจริงเหตุการณ์ความรุนแรง #ม็อบ28กุมภา

ลำดับเหตุการณ์การสลายการชุมนุม #ม็อบ28กุมภา 28 กุมภาพันธ์ 2564 ผู้ชุมนุม #REDEM มุ่งหน้าไปยัง ‘ราบ1’ ซึ่งเป็นที่ตั้งของบ้านพักพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
ศาลแพ่งยกคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวและไต่สวนฉุกเฉิน แต่คดีเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงยังไม่สิ้นสุด
อ่าน

ศาลแพ่งยกคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวและไต่สวนฉุกเฉิน แต่คดีเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงยังไม่สิ้นสุด

วันนี้ (22 ตุลาคม …