อ่าน รัฐธรรมนูญและรัฐสภา สรุปเนื้อหารัฐธรรมนูญ สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิในกระบวนการยุติธรรมตัดให้สั้นลง สิทธิมีทนายความหายไปพฤศจิกายน 5, 2019 เมื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ประชาชนต้องได้รับการพิจารณาคดีที่สะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรม คือ หลักการพื้นฐานที่รัฐธรรมนูญ 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม บทความเสรีภาพอื่นๆ เลื่อนไม่เลิก: การเลื่อนคดีของอัยการสร้างภาระที่เพิ่มขึ้นให้ผู้ต้องหา We Walkมิถุนายน 14, 2018 5 มิถุนายน 2561 สำนักงานอัยการจังหวัดธัญบุรีแจ้งว่า ให้เลื่อนฟังคำสั่งว่าจะฟ้องคดีหรือไม่ฟ้องคดี ต่อแปดผู้ต้องหาจากการจัดกิจกรรม “We walk เดินมิตรภาพ” นับเป็นการเลื่อนฟังคำสั่งอัยการครั้งที่ห้าของคดีนี้ โดยนัดฟังคำสั่งอัยการอีกครั้ง ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2561 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?สิงหาคม 24, 2017 หลังยุค คสช. มีการแก้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถึงสี่ครั้ง เป็นการแก้ไขโดยประกาศของคณะรัฐประหาร หนึ่งครั้งและเป็นแก้ไขโดยการออกพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม โดย สนช. ที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกสามครั้ง ซึ่งมีข้อสังเกตถึงการแก้กฎหมายฉบับนี้ว่าเป็นการแก้เพื่อจำกัดอำนาจทางการเมืองของบุคคลบางกลุ่มหรือไม่ 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย สนช.แก้ไข ป.วิอาญา 2 ฉบับ: คดีที่คนสนใจประธานศาลฎีกาสั่งย้ายศาลได้ ถ้าจำเลยจะอุทธรณ์ฎีกาต้องมายื่นด้วยตัวเองธันวาคม 4, 2016 สนช.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอีก 2 ฉบับ คือ แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 26 เกี่ยวกับการโอนคดี และเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และฎีกาของจำเลย (มาตรา 198 และมาตรา 216) เนื้อหาน่าสนใจอย่างไรติดตาม 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ คุยยังไม่จบ กด LIKE ผิดกฎหมายหรือไม่?ธันวาคม 27, 2015 ศาลยังไม่ได้ตัดสินว่าสรุปแล้วการกดไลค์ข้อความที่ผิดกฎหมาย เป็นความผิดด้วยหรือไม่? 0 0 0
อ่าน จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ สอดแนมประชาชน ร่างแก้ไขวิ.อาญาฯ: เพิ่มอำนาจดักฟังโทรศัพท์ ใครใช้สิทธิไม่ให้การให้สันนิษฐานว่าผิดมกราคม 17, 2015 ร่างแก้ไข วิ.อาญาฯ เป็น 1 ใน ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ ร่างนี้เพิ่มอำนาจตำรวจในการดักฟังโทรศัพท์และดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ของประชาชน โดยต้องขอหมายศาล และกำหนดว่าหากผู้ต้องหาใช้สิทธิไม่ให้การในชั้นสอบสวน แล้วอ้างในชั้นศาล ศาลจะไม่รับฟัง 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย ผลวิจัย TDRI เสนอเลิกโทษจำคุกในความผิดที่ไม่จำเป็นกุมภาพันธ์ 23, 2011 ฃผลการศึกษาทางเลือกในการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ชี้ว่า ระบบยุติธรรมไทย เน้นลงโทษอาญามากเกินไป หากเปลี่ยนโทษจำคุกที่ไม่จำเป็นจะลดต้นทุนของรัฐได้กว่าพันล้าน 0 0 0