เปิดร่างพ.ร.บ.เชียงใหม่มหานคร รวบรวม 10,000 ชื่อ ขอเลือกตั้งผู้ว่าฯ จัดการตัวเอง 
อ่าน

เปิดร่างพ.ร.บ.เชียงใหม่มหานคร รวบรวม 10,000 ชื่อ ขอเลือกตั้งผู้ว่าฯ จัดการตัวเอง 

เปิดตัวร่าง พ.ร.บ.เชียงใหม่มหานคร โดยองค์กรภาคประชาชนสังคมที่ช่วยกันจัดขึ้นเพื่อพูดถึงความฝันที่เชียงใหม่จะมีระบบการปกครองที่ประชาชนมีอนาคตเป็นของตัวเอง เช่น เลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดโดยตรง
เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น

ในการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นอย่างช้า ในปี 2566 มีพรรคการเมืองอย่างน้อยสองพรรค ได้แก่ พรรคเพื่อไทย และพรรคก้าวไกล ที่ประกาศนโยบายสนับสนุนการกระจายอำนาจ และลดการรวมศูนย์อำนาจของส่วนกลาง
แก้รัฐธรรมนูญภาคห้า: ร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น ไม่ได้ไปต่อ เสียงเห็นชอบไม่ถึงครึ่ง-ส.ว.เห็นชอบแค่ 6 เสียง
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคห้า: ร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น ไม่ได้ไปต่อ เสียงเห็นชอบไม่ถึงครึ่ง-ส.ว.เห็นชอบแค่ 6 เสียง

7 ธันวาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดลงมติ ร่างแก้รัฐธรรมนูญ "ปลดล็อกท้องถิ่น" ที่เสนอให้ลดอำนาจราชการส่วนภูมิภาค และเพิ่มอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีอิสระในการทำบริการสาธารณะ และได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอเพื่อตอบโจทย์ปัญหาในแต่ละพื้นที่ แต่ร่างดังกล่าวก็ต้องตกไปเนื่องจากได้รับเสียงเห็นชอบจากรัฐสภาไม่ถึงกึ่งหนึ่งและได้รับเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ไม่ถึงหนึ่งในสาม
ข้อเสนอคณะก้าวหน้า ปลดล็อกท้องถิ่น จัดงบ 50% ทำประชามติเลิกผู้ว่าฯ
อ่าน

ข้อเสนอคณะก้าวหน้า ปลดล็อกท้องถิ่น จัดงบ 50% ทำประชามติเลิกผู้ว่าฯ

คณะก้าวหน้า เปิดตัวข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญ ชื่อว่า “ปลดล็อคท้องถิ่น” เปิดให้ประชาชนที่เห็นด้วยเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 ชื่อ เพื่อนำเสนอต่อรัฐสภา
บรรยง-วีระศักดิ์-ธำรงศักดิ์ ขึ้นเวทีก้าวหน้า หนุนกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น
อ่าน

บรรยง-วีระศักดิ์-ธำรงศักดิ์ ขึ้นเวทีก้าวหน้า หนุนกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น

1 เมษายน 2565 คณะก้าวหน้าจัดเวที “ผ่าทางตัน 130 ปี รัฐราชการรวมศูนย์” ส่วนหนึ่งของแคมเปญล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ “คนละชื่อ ปลดล็อคท้องถิ่น”
วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60
อ่าน

วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60

ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม
กฎหมายเบื้องต้น เรื่องการเลือกตั้งท้องถิ่น
อ่าน

กฎหมายเบื้องต้น เรื่องการเลือกตั้งท้องถิ่น

นับถึงปี 2562 การปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยยังมีความซับซ้อนและสับสน อำนาจหน้าที่ของหลายองค์กรยังคงทับซ้อนกัน ภายใต้พระราชบัญญัติหลายฉบับ
พรรคคนธรรมดาแห่งประเทศไทย: ส่งผู้สมัคร ส.ส. แค่สี่เขต ยืนยันนายกฯ ต้องเป็น ส.ส.
อ่าน

พรรคคนธรรมดาแห่งประเทศไทย: ส่งผู้สมัคร ส.ส. แค่สี่เขต ยืนยันนายกฯ ต้องเป็น ส.ส.

การเปิดตัวของพรรคคนธรรมดาแห่งประเทศไทย เมื่อปี 2557 มาพร้อมกับนโยบายที่ก้าวหน้าและแตกต่าง อย่างไรก็ตามพรรคก็ยังไม่มีโอกาสลงเลือกตั้ง เพราะเกิดการรัฐประหารปี 2557 การเลือกตั้ง 24 มี.ค 2562 พรรคคนธรรมดาฯ กลับมาอีกครั้ง แต่ส่งผู้สมัคร ส.ส.ไม่มากนัก
ร่าง พ.ร.บ.การเลือกตั้งท้องถิ่นฯ: เลือกตั้งท้องถิ่นครั้งแรกต้องรอ คสช. อนุญาต
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.การเลือกตั้งท้องถิ่นฯ: เลือกตั้งท้องถิ่นครั้งแรกต้องรอ คสช. อนุญาต

ร่างกฎหมายเลือกตั้งท้องถิ่นฯ แม่บทการจัดการเลือกตั้ง อปท.ทุกระดับ จะผ่านความเห็นชอบจาก สนช. ในวันที่ 24 ม.ค. 2562
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน

ประเด็นการกระจายอำนาจเป็นสิ่งที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ถึงรัฐธรรมนูญ 2550 แต่ปัจจุบันการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่นต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มีกำหนด เมื่อ คสช.รัฐประหาร นอกจากนี้ในร่างรัฐธรรมนูญปี 2559 ที่จะถูกนำไปออกเสียงประชามติก็ไม่มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนถึงการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า