คุยกับณัฏฐิกา แอดมินเพจ “เรารักพลเอกประยุทธ์” ในวันที่เสรีภาพในการหัวเราะขาดตลาด
อ่าน

คุยกับณัฏฐิกา แอดมินเพจ “เรารักพลเอกประยุทธ์” ในวันที่เสรีภาพในการหัวเราะขาดตลาด

คุยกับณัฏฐิกาผู้ถูกกล่าวหาว่า ทำเฟซบุ๊กเพจที่มีเนื้อหาเข้าข่ายการยุยงปลุกปั่นตามมาตรา 116 ของประมวลกฎหมายอาญาและพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ร่วมกับผู้ต้องหารายอื่นรวมแปดคน
4 ปี คสช. เห็นแนวโน้มคดีการเมืองใช้เพียง “ขู่” ให้กลัว ไม่ได้มุ่งจับคนไปติดคุกนานๆ
อ่าน

4 ปี คสช. เห็นแนวโน้มคดีการเมืองใช้เพียง “ขู่” ให้กลัว ไม่ได้มุ่งจับคนไปติดคุกนานๆ

ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557 จนถึง 22 พฤษภาคม 2561 เป็นเวลาสี่ปีพอดีที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของ คสช. ซึ่งเป็นยุคสมัยที่มีการจับกุมและดำเนินคดีประชาชนจากการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองจำนวนมาก ผู้ใช้อำนาจรัฐยุคนี้ก็มีเครื่องมือทาง “กฎหมาย” หลายข้อด้วยกันให้เลือกหยิบมาใช้จำกัดสิทธิของประชาชนที่มีความเห็นต่างกับ คสช. ได้คสช.
ธันวาคม 2560: ‘หมวดเจี๊ยบ’ รับข้อหายุยงปลุกปั่นเป็นของขวัญปีใหม่/ ส.สิวลักษณ์เลื่อนไปฟังคำสั่งคดี 112 ต้นปี 61
อ่าน

ธันวาคม 2560: ‘หมวดเจี๊ยบ’ รับข้อหายุยงปลุกปั่นเป็นของขวัญปีใหม่/ ส.สิวลักษณ์เลื่อนไปฟังคำสั่งคดี 112 ต้นปี 61

ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกที่สำคัญประจำเดือนนี้ได้แก่การแจ้งข้อกล่าวหาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ต่อร.ท.หญิงสุณิสาหรือ “หมวดเจี๊ยบ” อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทยจากกรณีโพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กวิจารณ์นายกรัฐมนตรีกรณีเปิดทำเนียบต้อนรับนักดนตรีที่อยู่ระหว่างการวิ่งระดมทุนให้โรงพยาบาล นอกจากนี้ก็มีกรณีที่เจ้าหน้าที่ประสานเจ้าของสถานที่ให้ยกเลิกการเช่าสถานที่จัดกิจกรรมสาธารณะอย่างน้อยสองกิจกรรม ได้แก่งานเลี้ยงปีใหม่ของกลุ่มคนเสื้อแดง และงานแสดงหมอรำระดมทุนเพื่อช่วยเหลือนักโทษของกลุ่มกิจกรรมแฟรีเทล สำหรับความเคลื่อนไหวคดีเสรีภาพอื่นๆที่น่าสนใจก็มีกรณีที่อัยการศาลทหารก
คุยกับ 3 จำเลยคดีป้ายผ้าแยกประเทศล้านนาในวันที่ถูกฟ้องรวด 3 คดีเพียงแค่ป้ายเหมือนกัน
อ่าน

คุยกับ 3 จำเลยคดีป้ายผ้าแยกประเทศล้านนาในวันที่ถูกฟ้องรวด 3 คดีเพียงแค่ป้ายเหมือนกัน

ในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม 2557 มีการติดป้ายผ้าไวนิลเขียนข้อความ”ประเทศนี้ไม่มีความเป็นธรรม กู ขอแยกเป็นประเทศล้านนา”
กสม.-นักกฎหมาย ชี้ รัฐใช้ ม.116 เป็นเครื่องมือปิดปาก พร้อมจี้ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

กสม.-นักกฎหมาย ชี้ รัฐใช้ ม.116 เป็นเครื่องมือปิดปาก พร้อมจี้ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

งานเสวนาหัวข้อ “มาตรา 116: ยุยงปลุกปั่น มั่นคงหรือมั่วนิ่ม” เพื่อสะท้อนถึงปัญหาการจำกัดการแสดงออก โดยเฉพาะการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในยุคคสช. ตามประวัติศาสตร์โลกกฎหมายนี้คือเครื่องมือปิดปากของรัฐ
ลำดับเหตุการณ์การสกัดกั้นเสรีภาพการแสดงออกกรณีคดีจำนำข้าว
อ่าน

ลำดับเหตุการณ์การสกัดกั้นเสรีภาพการแสดงออกกรณีคดีจำนำข้าว

ก่อนถึงวันพิพากษาคดีจำนำข้าวของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชวนไปเปิดข่าวย้อนดูกันว่าที่ผ่านมามีความเคลื่อนไหวที่จำกัดเสรีภาพการแสดงออกที่เกี่ยวข้องกับกรณีจำนำข้าวอย่างไรบ้าง
คุยกับประวิตร โรจนพฤกษ์ เรื่องเสรีภาพของการพูดคุย ในยุคที่ คสช. “อำพราง” การปิดกั้นด้วยกฎหมาย
อ่าน

คุยกับประวิตร โรจนพฤกษ์ เรื่องเสรีภาพของการพูดคุย ในยุคที่ คสช. “อำพราง” การปิดกั้นด้วยกฎหมาย

นักข่าวที่วิพากษ์วิจารณ์การรัฐประหารของคสช. ถูกตั้งข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ห้ากรรม จากโพสเฟซบุ๊ก ประวิตร โรจนพฤกษ์เล่าถึงความเชื่อมั่นต่อหลักเสรีภาพในการแสดงออกของเขา
คุยกับประวิตร โรจนพฤกษ์ เรื่องเสรีภาพของการพูดคุย ในยุคที่ คสช. “อำพราง” การปิดกั้นด้วยกฎหมาย
อ่าน

A Conversation with Pravit Rojanaphruk about the Right to Converse – the NCPO is ‘camouflaging’ their repression.

A journalist who criticize the coup was finally charged 5 counts under Sedition from Facebook post. Pravit reveals his unwavering belief in freedom of expression.