เปิดร่างนิรโทษกรรมฉบับประชาชน รวมประชาชนทุกฝ่าย และคดี 112
อ่าน

เปิดร่างนิรโทษกรรมฉบับประชาชน รวมประชาชนทุกฝ่าย และคดี 112

เครือข่ายนิโทษกรรมประชาชนจึงเสนอร่างกฎหมายพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชนเพื่อแก้ไขปัญหาคดีความที่คั่งค้างกับประชาชนทุกฝ่ายตั้งแต่การรัฐประหาร 2549 และเปิดให้ทุกคนช่วยกันแสดงความเห็นเพื่อปรับปรุงร่างได้
สำรวจนิรโทษกรรมในอเมริกาใต้! รัฐบาลพลเรือนทำอะไรได้บ้างเพื่อคืนความเป็นธรรม
อ่าน

สำรวจนิรโทษกรรมในอเมริกาใต้! รัฐบาลพลเรือนทำอะไรได้บ้างเพื่อคืนความเป็นธรรม

ก่อนการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา การดำเนินคดีการเมืองด้วยการใช้มาตรา 112 มาตรา 116 ไปจนถึงการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถูกดำเนินการจนส่งผลให้จำนวนผู้ต้องขังในคดีการเมืองยังคงพุ่งสูง ขณะที่สถานการณ์ปัจจุบันภายใต้รัฐบาลพลเรือนที่นำโดยเศรษฐา ทวีสิน ทิศทางของผู้ที่ถูกดำเนินคดีทางการเมืองยังคงไม่ชัดเจนและสถานการณ์ยังไม่ไปในทางที่เป็นคุณกับผู้ต้องหาคดีการเมือง การออกกฎหมาย “นิรโทษกรรม” ให้แก่ผู้ต้องหาคดีการเมืองเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถเป็นทางออกเพื่อทำให้สภาพสังคมหลังผ่านความขัดแย้ง (Po
Stand Together ครั้งที่สอง : จากข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ สู่วันพิพากษาคดี 112
อ่าน

Stand Together ครั้งที่สอง : จากข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ สู่วันพิพากษาคดี 112

เดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ปี 2566 ผู้ที่ถูกดำเนินคดีด้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 หลายคนที่จะต้องฟังคำพิพากษา โดยในเร็วๆ นี้จะมีอย่างน้อยสองคดีที่จะถึงเวลาพิพากษา คือคดีของ เบนจา อะปัญ ที่ศาลอาญากรุงเทพใต้นัดอ่านคำพิพากษาในวันที่ 30 ตุลาคม 2566 และสัปดาห์ถัดไป 8 พฤศจิกายน ศาลจังหวัดธัญบุรี นัดอ่านคำพิพากษาคดี 112 ของณัฐชนน ไพโรจน์ 29 ตุลาคม 2566 iLaw และสภานักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงาน Stand Together ครั้งที่สอง ส่งใจให้ผู้ต้องหาก่อนเผชิญคำพิพากษา 112 โดยมี เบนจ
ไอลอว์รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” ขอผูกโบว์ขาว ไม่ลืมเพื่อนคดี 112
อ่าน

ไอลอว์รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” ขอผูกโบว์ขาว ไม่ลืมเพื่อนคดี 112

6 ตุลาคม 2566 โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (ไอลอว์) รับรางวัล “จารุพงษ์ ทองสินธุ์ เพื่อประชาธิปไตย” จากสภานักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
จากฟ้องทางไกลสู่การคุกคามประชาชน งาน Stand Together ครั้งที่หนึ่งก่อนถึงวันพิพากษามาตรา 112
อ่าน

จากฟ้องทางไกลสู่การคุกคามประชาชน งาน Stand Together ครั้งที่หนึ่งก่อนถึงวันพิพากษามาตรา 112

   
รู้จักคดี 112 ที่พสิษฐ์ จันทร์หัวโทน Royalist ชาวโก-ลก ริเริ่ม
อ่าน

รู้จักคดี 112 ที่พสิษฐ์ จันทร์หัวโทน Royalist ชาวโก-ลก ริเริ่ม

1.      สถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า จากจำนวนคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 อย่างน้อย 280 คดีมี 136 คดีที่ประชาชนร้องทุกข์กล่าวโทษกันเอง คำว่า “ประชาชน” ในที่นี้มีทั้งผู้เคยมีความขัดแย้งและโต้เถียงกันบนโลกออนไลน์กับกลุ่มที่มีแนวคิดทางการเมืองที่ตรงกันข้ามกับจำเลย เช่น เครือข่ายประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปส.) และศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) ภาพจำในสังคมเกี่ยวกับมาตรา 112 คือ “ยาแรง” เพื่อหยุดยั้งกระแสการวิจารณ์เพื่อปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ที่เริ่มต้นจากการชุมนุมทางการเม
ย้อนดูจุดยืนพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาฯ ปี 2566 ต่อประเด็น “นิรโทษกรรม” คดีความทางการเมือง
อ่าน

ย้อนดูจุดยืนพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาฯ ปี 2566 ต่อประเด็น “นิรโทษกรรม” คดีความทางการเมือง

ในช่วงเทศกาลหาเสียง ตามเวทีดีเบตหรือวงเสวนาหรือแม้แต่การให้สัมภาษณ์ หลายพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาจากการเลือกตั้ง 2566 เคยแสดงจุดยืนในประเด็นนิรโทษกรรมคดีความทางการเมืองไว้บ้างแม้อาจยังไม่มีนโยบายชัดเจน ชวนย้อนความจำกันว่าแต่ละพรรคมีความคิดเห็นอย่างไรกันบ้าง
เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”
อ่าน

เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”

เสวนาในหัวข้อบทเรียนจากท้องถนน: พรรคการเมืองกับนโยบายเสรีภาพการชุมนุม มีการเชิญชวนพรรคการเมืองมาร่วมพูดคุยถึงประเด็นด้านเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน และนโยบายเกี่ยวกับการชุมนุมที่แต่ละพรรคตั้งใจนำเสนอ
ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112
อ่าน

ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112

เว็บไซต์รัฐสภา เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.สร้างเสริมสังคมสันติสุข ซึ่งร่างฉบับนี้จะยกเว้นความผิดให้กับผู้ชุมนุมหรือแสดงออกทางการเมือง หรือที่เข้าใจกันว่า เป็นการออกกฎหมาย "นิรโทษกรรม" นั่นเอง โดยร่างนี้รวมการกระทำตั้งแต่ปี 2549 ไม่รวมการทำให้ผู้อื่นเสียชีวิต และไม่รวมคดีมาตรา112
ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง
อ่าน

ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง

ประเทศไทย เคยออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมเหตุการณ์ทางการเมืองอย่างน้อย 23 ครั้ง ในจำนวนนั้น 11 ครั้งเป็นการนิรโทษกรรมแก่บรรดาคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจ ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์การนิรโทษกรรมของประเทศไทยว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ถูกนำไปใช้ในเรื่องใดบ้าง